Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวมยุรฉัตร เพศสิงห์ เลขที่ 63…
การพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือด
Electro-cardiography
หัวใจมีคลื่นของไฟฟ้า ซึ่งวิ่งผ่านเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เซลล์เกิดการ Depolarization และ Repolarization ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดและคลายตัว
EKG 12 lead
Six limp lead
Lead I, aVL มองเห็นหัวใจด้านซ้าย
Lead II, III, aVF มองเห็นหัวใจด้านล่าง
Lead aVR มองเห็นหัวใจด้านขวา
Pericardial lead
V1, V4 ด้าน Anterior
V2, V3 ด้าน Posterior
V5, V6 ด้าน Lateral
V1, V2 ตรงแบ่งห้องหัวใจ septum
EKG
ประกอบด้วย
QRS complex
เกิดจาก ventricular depolarization (หัวใจห้องล่างบีบตัว)
T wave
เกิดจาก ventricular repolarization (หัวใจห้องล่างคลายตัว)
P wave
กระแสไฟฟ้าวิ่งผ่านเกิด atrial depolarization โดยเริ่มจาก SA node กระจายไปทั่ว atrium ทั้งซ้ายและขวา
(หัวใจห้องบนบีบตัว)
PR Interval
ปกติ 0.12-0.20 วินาที
มากกว่า 0.20 วินาที เรียก First degree AV block
เกิดจาก Acute Myocardial Infarction หรือการใช้ยาพวก Beta blocker, Calcium Channel blockers, Digitalis, Amiodarone, Procainamide หรือเกิตจาก Hyperkalemia
Q wave
ปกติ ขนาดเล็กกว่า1/3 ของ R wave
ไม่ปกติ (significant Q wave) คือ กว้างมากกว่า 0.04 วินาที หรือลึกกว่า 2 mm.
มีการตายของเซลล์กล้ามเนื้อ(infarction)
ST segment
J point - T wave
การอ่าน ECG Rhythm
1.Rhythm สม่ำเสมอหรือไม่ (regular/irregular)
Heart Rate เร็ว ช้าหรือปกติ (tachycardia, bradycardia, normal)
P Wave มีหรือไม่ รูปร่างปกติหรือไม่และสัมพันธ์กับQRSหรือไม่
PR interval ปกติหรือไม่ (0.12-0.2 วินาที) ค่าคงที่ไหม
St segment เป็นอย่างไร (elevate / depress)
7.T wave ว่าเป็น positive deflect หรือไม่
QRS complex แคบหรือกว้าง (0.04-0.1วินาที) รูปร่างเหมือนกันไหม
Cardiac arrhythmias
คือ หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ อาจเต้นเร็วเกินไปหรือช้าเกินไป ทำให้การสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆไม่มีประสิทธิภาพ และอาจส่งผลให้ผู้ป่วย เสี่ยงต่อภาวะหัวใจล้มเหลวหรือหลอดเลือดสมองอุดตันเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุ
จากหัวใจ
โรคของกล้ามเนื้อหัวใจ
โรคของลิ้นหัวใจ ตีบ รั่ว
หัวใจโต หัวใจล้มเหลว
ภายนอกหัวใจ
เสียสมดุลอิเล็คโตรลัยท์
ภาวะ hypoxia หรือ hypercapnia
การกระตุ้น Autonomic nervous system
ยาบางชนิด ชา กาแฟ บุหรี่ พักผ่อนไม่เพียงพอ
อาการ
เต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ
ใจสั่น
เหนื่อย เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม
เจ็บหน้าอก
Sudden death
การรักษา
ให้ยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น Digitalis, Amiodarone propranolol
ใส่สายสวนหัวใจ
ฝังเครื่องมือเช่น เครื่องกระตุ้นหัวใจ หรือ Pacemaker ในกรณีหัวใจเต้นช้า
แบ่งเป็น
Sinus bradycardia
หัวใจเต้นน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
สาเหตุ
ช่วงกำลังพักผ่อนหรือนอนหลับ
นักกีฬา
ผู้ป่วยที่มี myocardial infarction (inferior หรือ posterior)
Parasympathetic ถูกกระตุ้น เช่น อาเจียน กลั้นหายใจ เบ่งอุจจาระ
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
Hypoxia, Hypothermia, Hyper K, hyperthyroid
ยากลุ่ม calcium channel blocker, beta blocker, digitalis, amiodarone
การรักษา
Atropine
Ephedrine, Epinephrine
Pace maker
Sinus tachycardia
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
สาเหตุ
ออกกำลังกาย
ขาดออกซิเจน
มีไข้
ขาดเลือด
ขาดน้ำ Dehydration
Shock
การรักษา
ค้นหาสาเหตุและขจัดสาเหตุ
Atrial fibrillation
หัวใจห้องบนสั่นพริ้ว
สาเหตุ
ดื่มสุราจัด เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สูบบุหรี่ ยาที่กระตุ้นหัวใจ
โรคเยื้อหุ้ม โรคลิ้นหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหัวใจโต
อาการ
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หัวใจล้มเหลว เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก อ่อนล้า ปวดศีรษะ
มีโอกาสที่เลือดจับตัวเป็นก้อน (clot) ถ้าก้อนเลือดลงมาที่หัวใจห้องล่าง ก้อนเลือดนั้นก็มีโอกาสถูกบีบออกจากหัวใจ ถ้าก้อนเลือดเคลื่อนไปอุดตันเส้นเลือดที่สมอง จะทำให้เกิด Stroke เป็นอัมพาตได้
Ventricular tachycardia
หัวใจทำงานแค่ห้องล่าง ห้องบนไม่ทำงาน
ไม่มี P wave, QRS กว้าง
การรักษา
อาการไม่คงที่ No PR, BP (cardiac arrest)
asynchronized cardioversion (defibrillation) 120-200 จูล ร่วมกับการ CPR
อาการไม่คงที่ (มี PR)
ทำ synchronized cardioversion 120-200 จูล
ถ้ายังไม่ได้ผลอีกให้ amiodarone
อาการคงที่ดีมีชีพจรวัดความดันโลหิตได้ปกติ
amiodarone 150 มก. iv นาน 10 นาทีขึ้นไป ตามด้วย infusion
Ventricular fibrillation
ventricle เต้นพริ้ว ทำให้ไม่สามารถบีบเลือดออกจากหัวใจได้
ไม่พบ p wave มีเพียง fibrillation wave
คลำชีพจรไม่ได้
การรักษา
Defib.120-200 จูล ทันที ร่วมกับการทำ CPR อย่างต่อเนื่อง
epinephrin 1 mg iv ซ้ำได้ทุก 3 นาทื
low cardiac output
ต้องแก้ไข 4 ตัว
1.Volume ทำให้ผู้ป่วยมี volumeเพียงพอ โดยให้ IV fluid/blood
Heart แก้ไขให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติที่สุด เช่น การใช้ยา Amiodarone หรือการทำ cardioversion
Rate แก้ไขอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการให้ยา digitalis, beta-blocker
Stroke
ลด SVR โดยใช้ยาขยายหลอดเลือด เช่น Nitroprusside, Nitroglycerine
เพิ่ม Contractility ใช้ยากลุ่ม Inotropics เช่น Dobutamine, Dopamine
Coronary artery disease
พยาธิสภาพ
เกิดจากไขมันสะสมอยู่ในผนังของหลอดเลือด (Plaque) มีผลให้เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในหนาตัวขึ้น ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ มีการแคบลง
อาการและอาการแสดง
เจ็บแน่นหน้าอก ใจสั่น เหงื่ออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลมหมดสติหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
กลุ่มอาการทางคลินิก
เจ็บเค้นอกคงที่ (Stable angina)
หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome)
Unstable angina
เจ็บหน้าอก 15-20 นาที อมยาดีขึ้น
EKG ST depress/T invert
NSTEMI
เจ็บหน้าอกนานกว่า 20 นาที
EKG ST depress/T invert
STEMI
เจ็บหน้าอกนานกว่า 20 นาที
EKG ST elevation /ST depress / T invert
new LBBB
ปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุ
พันธุกรรม
อายุ ชาย 40 ปีขึ้นไป หญิง 45 ปีขึ้นไปหรือวัยหมดประจำเดือน
การสูบบุหรี่
ขาดการออกกำลังกาย
โรคประจำตัวอื่นๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน
การรักษา
ยา
ยาต้านการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
Beta bloker
Nitrate
ยาลดไขมันในเลือด
ทำ PCI (ใส่stent)
ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือด Bypass
นางสาวมยุรฉัตร เพศสิงห์ เลขที่ 63 รหัสนักศึกษา 62121301064