Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 (ต่อ) การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย …
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 (ต่อ)
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย
3.5 กลุ่มอาการปวดท้อง ปวดหลัง ปวดเอว
ไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis)
สาเหตุ
เกิดจากการอุดตันของ
ไส้ติ่ง เช่น เนื้อเยื่อต่อมนำ้
เหลืองโต มีอุจจาระแข็งอุด
ตัน
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องรอบๆสะดือเป็นพักๆ รู้สึกอยาก
ถ่ายแต่ถ่ายไม่ออก อาการปวดจะย้ายมาปวดที่ท้องน้อยด้านขวา หากอยู่นิ่งๆ หรือนอนตะแคงงอตัวจะทุเลาปวด คลื่นไส้อาเจียน
ตรวจพบ มีไข้ตำ่ๆ กดเจ็บท้องน้อยด้านขวา
ที่ตําแหน่ง McBurney
การรักษา
ต้องงดอาหารและนำ้
ให้สารน้ำทางหลอดโลหิตดํา เพื่อรับการผ่าตัดนําไส้ติ่งออก(appendectomy)
ห้ามให้ยาแก้ปวด เพราะอาจบดบังอาการที่แท้จริง
ห้ามใช้ยาถ่ายหรือสวนอุจจาระ ไม่ควรตรวจโดยการกดหน้าท้องบ่อยๆ เพราะไส้ติ่งอาจแตกได้ ทําให้เกิดเยื่อบุช่องท้องอักเสบได้
การผ่าตัดนําไส้ติ่งออก(appendectomy)
ให้ยาปฏิชีวนะ
การพยาบาล
การดูแลผู้ป่ วยก่อนและหลังผ่าตัดทั่วไป โดยเน้น
การบรรเทาปวด และการป้ องกันการแตกของไส้ติ่งในระยะก่อนผ่าตัด ส่วนในระยะหลังผ่าตัด จะเน้นการบรรเทาการปวดแผลผ่า
ตัด และป้ องกันภาวะ แทรกซ้อนหลังผ่าตัด เช่นท้องอืด การติดเชื้อในช่องท้องในกรณีที่ไส้ติ่งแตก
ตับอ่อนอักเสบ (PANCREATITIS)
สาเหตุ
เป็นโรคที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่เป็นภาวะร้ายแรงที่มีอัตราตาย
ค่อนข้างสูง พบได้บ่อยในคนที่ดื่มเหล้าจัด
กรรมพันธุ์
ABNORMAL MECHANISM OFDIGESTIVE SYSTEM
(นํ้าดีไหลย้อนกลับเข้าไปใน PANCREATIC DUCT)
BILE DUCT DISEASE
(GALLSTONE)
METABOLIC EFFECT
อาการ
ปวดท้องรุนแรงตรงบริเวณใต้ลิ่นปี่ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นทันทีทันใด (บางคน
อาจมีประวัติดื่มเหล้าจัด หรือกินเลี้ยงมาก่อนสัก 12-24 ชั่วโมง)
ปวดตลอดเวลา มักปวดร้าวไปที่หลังเวลานอนหงายหรือเคลื่อนไหว มัก
ทําให้ปวดมากขึ้น แต่จะรู้สึกสบายขึ้นเวลานั่งโก้งโค้ง
ผู้ป่วยมักมีไข้
การรักษา
ถ้ามีภาวะขาดนํ้าหรือช็อก ควรให้นํ้าเกลือ
อาจต้องพิสูจน์โดยการเจาะเลือดตรวจหาระดับเอนไซม์อะมิเลส(amylase) และ ไลเปส (lipase) ซึ้งจะพบสูงกว่าปกติมาก
ให้ยาแก้ปวด
ทําการรักษาโดยให้นํÊาเกลือและสารอาหารทางหลอดเลือดดํา
แผลในกระเพาะอาหาร(Peptic
ulcer)
โรคแผลในกระเพาะอาหาร(gastric ulcer)
หรือ แผลในลําไส้เล็กส่วนต้น(duodenal ulcer)
มีการทําลายเยื่อบุผิวกระเพาะหรือลําไส้ส่วนต้น
ต่อมานํ้าย่อยและนํ้ากรดที่กระเพาะสร้างขึ้นจะย่อยทําลายซํ้าเพิ่มเติมบริเวณนั้นให้เป็นแผล
ใหญ่ขึ้น กลายเป็นแผลเรื้อรัง
อาการ
มักมีอาการปวดท้องเป็ น ๆ หาย ๆ เรื้อรัง ตรงบริเวณกลางยอดอก
ลักษณะการปวด อาจปวดแสบ ปวดตื้อ จุกเสียด หรือมีความรู้สึกหิวข้าว
ในผู้ป่วยที่มีแผลที่ลําไส้เล็กส่วนต้นมักมีอาการปวดท้อง หลังอาหาร
ประมาณ 1-3 ชั่วโมง หรือขณะท้องว่าง
ถุงนํ้าดีอักเสบ(Cholecystitis)
สาเหตุ
ตับ (liver )เป็นอวัยวะสร้างน้ำดี ซึ่งจะส่งไปเก็บที่ถุงน้ำดี เมื่อ
ต้องการไปย่อยไขมัน ถุงน้ำดีก็บีบตัวส่งน้ำดีไปตามท่อน้ำดี (common bile duct) เข้าสู่ลําไส้ ( duodenum) และย่อยอาหาร น้ำดี
ประกอบด้วย น้ำ ,cholesterol ,ไขมัน, bile salt เมื่อน้ำในน้ำดีลดลงก็ทําให้เกิดนิ่ว พบบ่อยๆมี 2 ชนิดคือ นิ่วที่เกิดจาก cholesterol และนิ่ว
ที่เกิดจากเกลือต่างๆ
อาการ
ในรายที่มีการติดเชื้อแบคทีเรีย ทําให้เกิดการ
อักเสบของถุงนํ้าดีเฉียบพลัน จะมีอาการไข้สูงหนาวสั่น ปวดบริเวณใต้ชายโครงขวา คลื่นไส้
อาเจียน
การรักษา
จำเป็นต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์และผู้
ป่วยมีความจําเป็นต้องอยู่ในโรงพยาบาล เพราะจะต้องได้รับยาปฏิชีวนะทางเส้นเลือด ในกรณีที่
ผู้ป่วยมีโรคอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวานอาจทําให้ภาวะถุงนํ้าดีอักเสบอย่างรุนแรงมี
อันตรายจนถึงเกิดภาวะเป็นหนองในถุงนํ้าดี
หลังจากผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
จนหายดีแล้ว
อาหารไม่ย่อย(dyspepsia)
ผู้ที่มีอาการท้องอืดจะรู้สึกปวดท้องส่วนบน
ทําให้แน่นท้อง มีลมในท้องต้องเรอบ่อย ๆ บางคนอาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อิ่มเร็ว หรือ
อาจมีอาการแน่นท้อง แม้กินอาหารเพียงเล็กน้อยและแสบบริเวณหน้าอก
สาเหตุ
โรคในระบบทางเดินอาหารเองได้แก่ โรคแผลใน
กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ มะเร็ง
โรคที่เกิดจากสิ่งภายนอก ได้แก่ยาต่าง ๆ ที่กิน ยา
หลายชนิดจะทําให้เยื่อบุกระเพาะอาหารอักเสบ
โรคของทางเดินนํ้าดีเช่น นิ่วในถุงนํ้าดี
โรคของตับอ่อน
การอุดตันของลําไส้ (Gut/ Bowel obstruction)
สาเหตุ มักเกิดจากความผิดปกติของลําไส้ เองทําให้มีการบิดตัว
(Volvulus) หรือ การมีพังผืดไปรัด ซึÉงมักพบในผู้ทีÉมีประวัติได้รับการผ่าตัดของลําไส้ มีก้อนเนืÊอ (Mass, Polyp) หรือมะเร็ง
(Carcinoma) ในผู้ป่ วยเด็กทีÉสุขนิสัยไม่ดีและมีอาการขาดสารอาหารอาจเกิดจากพยาธ
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง เป็ นพักๆตามการบีบตัวของ
ลําไส้ อาจคลืÉนไส้ อาเจียน ในกรณีทีÉเป็ นเฉียบพลันและผนังหน้าท้องบางอาจเห็นการบีบรัดตัวเป็ นคลืÉนทีÉหน้าท้อง ต่อมาปวดทัÉว
ท้อง ปวดตลอดเวลา หน้าท้องแข็งเกร็ง กดเจ็บ ในระยะท้ายจะมีอาการของภาวะนํÊาในร่างกายน้อย (Hypovolemia) และ shock
ได
การรักษา
แพทย์มักให้ยาปฏิชีวนะร่วมกับการใส่ NG tube เพืÉอ
ระบายสิÉงทีÉค้างอยู่ในกระเพาะและสําไส้ โดยเชืÉอว่า เมืÉอมี สิÉงคงค้างน้อยลง ลําไส้จะบีบตัวลดลง ทําให้ลําไส้ได้พัก ส่วนทีÉมีการ
อุดตัน และบวม อาจทุเลาทําให้ gastric content ผ่านไปได้ แต่
3.6 กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
การวินิจฉัย
อาการเริ่มต้น ( onset )
ตำแหน่งที่เจ็บ ( location )
อาการปวดร้าวไปที่อื่น ( radiation
ลักษณะการเจ็บ ( Quality )
ความรุนแรง ( intensity )
ระยะเวลาที่มีอาการ ( Duration of pain)สิ่งที่ทำให้อาการเปลี่ยนแปลง มีอาการมากขึ้นหรือลดลง
( aggravating and alleviating factor )
คำจำกัดความ
Chest pain or Chest discomfort
เจ็บหน้าอก อึดอัด หายใจไม่โล่ง รู้สึกไม่สบาย
บริเวณหน้าอก จุกใต้ลิ้นปีหรือกลางหน้าอก
การวินิจฉัยแยกโรค
ประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติกา
สาเหตุ
หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
ไม่ใช่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
เจ็บจากอาการขาดเลือด ( Ischemic chest pain )
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจ
ลิ้นหัวใจผิดปกติ
Aortic aneurysm dissection
อาการ
ปวดแบบบีบรัด หรือมีอะไรมาทับ บางคนมาด้วย
แน่นหน้าอก
ตำแหน่งตรงกลางกระดูกหน้าอก มักร้าวไปแขน ซ้าย ไหล่ กรามหรือหลั่งได้
มีอาการเหงื่อออก ตัวเย็น คลื่นไส้ อาเจียน หือ หายใจไม่สะดวก
ระยะเวลา
มีอาการ5-15 นาที
ไม่เกิน 30 นาที
ปัจจัยที่ทำให้มีอาการมากขึ้น
ออกกำลังกาย
อารมณ์ เช่น ตื่นเต้น ตกใจ โกรธ
อาการเย็น
อาการทุเลาหลังพัก หรือ อมยาใต้ลิ้น
ไม่ใช่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด (pneumothorax)
Pulmonary emboli
หลอดลมอักเสบ ( tracheobronchitis)
จากระบบทางเดินอาหาร เช่น หลอดอาหารกระเพาะอาหาร ลำไส้ ถุงนำดี
กระดูกและกล้ามเนื้อ เช่น กระดูกซี่โครงอักเสบกระดูกหักหรือร้าว
โรคติดเชื้อ เช่น งูสวัด
ภาวะทางจิตใจ
ระบบทางเดินหายใจ
อาการสัมพันธ์กับการหายใจ
มีภาวะผิดปกติร่วมกับการหายใจ เช่น ไอ
หายใจหอบเหนื่อยตรวจร่างกายผิดปกติ ในปอด เช่น เสียงหายใจ
เบาลง
ตรวจพิเศษ เช่น ค่าออกซิเจนในเลือดลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
มักสัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร
มีอาการแสบอออกร้อนร่วมด้วย
รับประทานยาลดกรดแล้วดีขึ้น
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
มีจุดกดเจ็บชัดเจนอาการมากขึ้นสัมพันธ์กับการออกกำลัง
มีความผิดปกติให้เห็นชัดเจน เช่น แผล รอยโรค
ภาวะทางจิตใจ
เจ็บแบบเจ็บแปลบหรือเข็มแทง
บริวณหน้าอกซีกซ้ายหรือตรงกลางหัวใจ
ชี้จุดเจ็บได้
อาการไม่สัมพันธ์กับการออกกำลังกาย การ
หายใจ หรือการรับประทานอาหาร
มักมีอาการทางจิตอื่นๆ เช่น เบื่ออาหาร นอนไม่
หลับ
อาการรุนแรงไม่สัมพันธ์กับความผิดปกติที่ตรวจ
พบ
การตรวจร่างกาย
ㆍ ดู คลำ เคาะ ฟัง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ㆍคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography )
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก ( chest x-ray)
ㆍCardiac enzymes
การตรวจพิเศษทางหัวใจ เช่น exercise
stress test , echocardiography ,
coronary angiogram
การตรวจเฉพาะสำหรับโรคอื่นๆ
3.7 กลุ่มอาการอื่นๆที่พบบ่อย
อาการซีด
(pallor)
สาเหตุที่สำคัญ
อาการซีดจากเลือดไปเลี้ยงน้อยลง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นเฉพาะที่
อาการซีดจากโรคเลือดจาง (โรคโลหิตจาง)
อาการซีด (pallor)
หมายถึง อาการที่สีของผิวหนัง (หน้า ริมฝีปากิ้น เล็บ มือ เท้า ที่ด้านในของเปลือกตา หรือที่
อวัยวะอื่นๆ ของร่างกายที่สามารถมองเห็นได้)ดูจางลง เนื่องจากไม่มีเลือดฝาด
อาการซีดจึงเป็นอาการที่วินิจฉัยได้ไม่ยากเพราะอาศัยการดูความเข้มของสี (เลือด) ของ
ผิวในบริเวณต่างๆ ที่กล่าวถึงข้างต้นด้วยตาเปล่าแล้วเปรียบเทียบกับคนทั่วไป อาการซีด
เนื่องจากไม่มีเลือดฝาด
อาการซีดจากโรคโลหิตจาง
การเสียเลือด
2.การทำลายเม็ดเลือดแดง
3.การขาดเหล็กและสารจำเป็นสำหรับการสร้างเม็ดเลือดแดง
4.การที่ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดงไม่พอ
การวินิจฉัย
วินิจฉัยจากประวัติอาการเจ็บป่วยและการตรวจพบภาวะซีด
การตรวจร่างกายทำการตรวจเลือด ซึ่งมักพบว่ามีระดับความ
เข้มข้นของเลือด (hemoglobin) ต่ำกว่า 12กรัม/เดซิลิตร
การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น ตรวจอุจจาระ ปัสสาวะเอกซเรย์ เจาะไขกระดูก ใช้กล้องส่องตรวจ
กระเพาะอาหารหรือลำไส้ใหญ่ เป็นต้น
การรักษา
หาสาเหตุที่ทำให้ซีดแล้วรักษาสาเหตุนั้น
รักษาตามอาการ
อ่อนเพลีย
สาเหตุ
ภูมิแพ้ หรือ โรคหอบหืด
Anemia
Depression Depression or grief ซึมเศร้าหรือ เสียใจ
อาการปวด Fibromyalgia
Sleep disorders such as ongoing insomnia , obstructive sleep apnea, ornarcolepsy หลับผิดปกติเช่นนอนไม่หลับ หยุดหายใจขณะหลับอุดกัน
รักษา
ตามสาเหตุของโรค
รักษาตามอาการ
ปวดกล้ามเนื้อ
สาเหตุ
๑. กล้ามเนื้อต้องเกร็งค้างอยู่นานๆ (isometric work)
กล้ามเนื้อเกร็งค้างนานๆ
๒. มีภาวะหดสั้นของกล้ามเนื้อ
๓. การออกแรงอย่างหนักของกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดการคั่ง
ของกรดแล็กติก ทำให้กล้ามเนื้อล้าและปวด อาการปวดจะกระตุ้นกล้ามเนื้อให้เกร็งแข็งโดยอัตโนมัติ
(muscle spasm)
การวินิจฉัย
ประวัติ อาการปวด
ตรวจร่างกาย
กดเจ็บเฉพาะที่ (Regional pain) และแสดง
อาการปวดร้าวไปตามอาการที่ปรากฎ(Reproducible refer pain) จำกัดการ
เคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่ก่ออาการนั้นๆ
วิธีการรักษา
1.กำจัดปมกล้ามเนื้อที่หดเกร็งที่เกิดขึ้น ได้แก่
การยืดกล้ามเนื้อ
การนวด
การฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
การใช้เข็มคลายกล้ามเนื้อ
การฉีดยาซาเฉพาะจุดไปที่บริเวณกล้าม
เนื้อหดเกร็ง
หาสาเหตุและแก้ปัจจัยกระตุ้นที่เป็นต้นเหตุเพื่อ
ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ ได้แก่
การปรับท่าทางที่ถูกต้องในการทำงาน ปรับ
โต๊ะ เก้าอี้ที่ทำงาน
หาวิธีกำจัดความเครียด ฝึกผ่อนคลาย
ภาวะบวม
อาการบวมสารน้ำ หมายถึง ภาวะที่มีสารน้ำขัง
อยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ (interstitial tissue) จนเกิดอาการบวมให้เห็นทางภายนอก
โดยเกิดจากความผิดปกติของกลไกการควบคุมแรงดันในร่างกายที่มีอยู่ 2 ระบบ คือ
Hydrostatic Pressure หรือแรงผลักออกคือ แรงดันภายในหลอดเลือดที่ดันน้ำออกสู่
เนื้อเยื่อOncotic Presssure หรือแรงดูดกลับ คือ
แรงที่ทำหน้าที่ในการดึงดูดน้ำไว้ภายในหลอดเลือด แรงนี้ขึ้นอยู่กับปริมาณโปรตีน
กายใจเเลือด