Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยพิบัติเเละภัยสุขภาพ image - Coggle Diagram
ภัยพิบัติเเละภัยสุขภาพ
อุทกภัย
อุบัติการณ์การเกิด
http://direct.disaster.go.th/cmsdetail.directing-7.191/36853/menu_8410/4852.1/%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2+%E0%B8%9B%E0%B8%B5+2555-2561#&slider1=1
เเนวทางการเเก้ไข
ด้านสถานที่
-ตรวจสอบเครื่องใช้ อุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพปลอดภัย
-ตรวจสอบความเรียบร้อยของดาดฟ้า หลังคา ให้อยู่ในสภาพที่กันฝนได้ปกติ และรางน้ำ ไม่อุดตัน
-ตรวจสอบประตูหน้าต่างอยู่ในสภาพดี
-ตรวจสอบรอยแตกร้าว รอยรั่วของตัวอาคาร
ด้านอุปกรณ์
กรณีที่สำนักงานอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย ให้มีการจัดเตรียม อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการ ป้องกัน และเตรียมการดังนี้
กระสอบทราย
เรือ (ถ้าจำเป็น)
เครื่องสูบน้ำ สายยาง
ไฟฉาย รองเท้าบูท
ถุงพลาสติกใส่ของ
ด้านบุคลากร
-ติดตามข่าวจากกรมอุตุนิยมวิทยาและสื่อต่างๆ อย่างใกล้ชิด
พิจารณาจัดเวรยาม เฝ้าระวัง
ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เตรียมไว้ให้พร้อมใช้อยู่ตลอดเวลา
สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ภัยอันตรายที่เกิดจากสภาวะน้ำท่วมเฉียบพลันหรืออันตรายที่เกิดจากสภาวะน้ำไหล เอ่อล้นฝั่งเเม่น้ำลำธาร เนื่องจากมีน้ำเป็นสาเหตุ ทำให้เกิดน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลาก โดยปกติอุทกภัยเกิดจากฝนที่ตกเป็นระยะเวลานาน
ภัยสุขภาพ
ผลกระทบด้านสุขภาพจิต
ใช้คำถามคัดกรอง จำานวน 4 ข้อ จำานวนประชากร 121,583 ราย พบว่า มีกลุ่มที่ได้รับผลกระทบทางจิตใจ แยกออกเป็นระดับได้ 3 กลุ่มดังนี
เครียดสูง 6,985 คน, ร้อยละ 5.75
อารมณ์เศร้า 8,698 คน, ร้อยละ 7.15
เสี่ยงฆ่าตัวตาย 1,533 คน , ร้อยละ 1.26
ผลกระทบด้านสุขภาพกาย
1) อุบัติเหตุ ได้เเก่ การพลัดตกนำ้าจาก กระแสน้ำที่เชี่ยวกราก ,การจมน้ำ ,การถูกไฟฟ้าช็อต หรือการถูกไฟฟ้าดูด
2) โรค
จำานวนผู้ป่วยด้วยโรคต่างๆ จากภาวะน้ำาท่วมใน ปี พ.ศ. 2554
-ตาแดง 517 คน , อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 4.21
-ฉี่หนู 6 ,อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 0.16
-ไข้เลือดออก 91,อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 0.64
-อุจจาระร่วง 3146 ,อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 22.06
มือ เท้า ปาก 96, อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 0.85
-ไข้หวัดใหญ่ 144 ,อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 1.18
-ปอดบวม 649 , อัตราป่วยต่อแสนของประชากร 4.43
อัคคีภัย
สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิด
2 อุบัติเหตุจากกรณีของก๊าซหุงต้มรั่วไหลออกมาและมีส่วนผสมพอเหมาะกับอากาศที่พร้อมจะลุกไหม้ เมื่อมีประกายไฟและความร้อนถึงจุดติดไฟ เช่น เมื่อเปิดสวิทช์ไฟฟ้าในขณะที่เกิดก๊าซรั่ว จะทำให้เกิดประกายไฟลุกไหม้ทันที และจะระเบิดอย่างรวดเร็ว
4 ไม่ทราบสาเหตุ การเกิดเพลิงไหม้ส่วนใหญ่แล้วจะไม่ทราบสาเหตุที่เกิดขึ้น และมักจะสันนิษฐานว่าเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร
1 ความประมาทเลินเล่อในการไม่ระมัดระวังการใช้ไฟ เช่น การสูบบุหรี่ ทิ้งก้นบุหรี่ไม่เป็นที่ การเผาขยะแล้วไม่ควบคุมดูแล การหุงต้มอาหารแล้วขาดการระมัดระวัง การใช้ฟิวส์ไม่ถูกขนาดกับกำลังไฟฟ้า
3 การลอบวางเพลิง อาจเกิดจากการขัดผลประโยชน์ หรือการอิจฉาริษยาอาฆาตแค้นต่อกัน ต้องการทำลายคู่แข่งขัน การจงใจที่จะทำให้เกิดการลุกไหม้ ซึ่งอาจจะเกิดจากการหวังเอาเงินประกัน
เเนวทางการเเก้ไข
ด้านสถานที่
ดูแลสถานที่ให้สะอาด เป็นระเบียบ
ติดป้ายเตือนห้ามสูบบุหรี่ /ห้ามนำสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิงเข้ามาในสำนักงาน - ดูแลบริเวณโดยรอบไม่ให้มีสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง
ตรวจดูอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย
-จัดทำผังเส้นทางหนีไฟและกำหนดจุดรวมพล
ด้านอุปกรณ์
-จัดหาถังดับเพลิงให้เพียงพอ และเป็นชนิดที่เหมาะสม
ติดถังดับเพลิงในต าแหน่งที่สะดวกในการหยิบใช้
ทำป้ายแสดงจุดที่เป็นแผงควบคุมและสวิทช์ไฟฟ้าให้ชัดเจน
-พิจารณาติดเครื่องตรวจจับควันและเครื่องตรวจจับความร้อน
ด้านบุคลากร
ศึกษาเส้นทางหนีไฟ ตำแหน่งอุปกรณ์ดับเพลิงและจุดรวมพลรวมทั้งตำแหน่งที่ตั้งของ แผงควบคุมและสวิตช์ไฟฟ้า
-ศึกษาการใช้อุปกรณ์ดับเพลิง
ระมัดระวังการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่อาจก่อให้เกิดอัคคีภัย
ทำการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือและสถานที่เป็นประจ า ดังนี้
ตรวจสอบประจำวัน: ก่อนปิดทำการ
ตรวจสอบความเรียบร้อยอุปกรณ์ไฟฟ้า
ปิดสวิทช์ไฟที่ไม่จำเป็นและตรวจตราสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง
ตรวจสอบประจำสัปดาห์
ตรวจบริเวณภายในส่วนงานให้เป็นระเบียบปราศจากสิ่งที่เป็นเชื้อเพลิง
ไม่ให้มีสิ่งของวางกีดขวางเส้นทางหนีไฟ
ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า ปลั๊กไฟ สายไฟให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย หากชำรุดให้แจ้ง ฝ่ายอาคาร ให้ซ่อมแซม
ตรวจสอบประจำเดือน
ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือดับเพลิงต่างๆ ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน - ถ้าพบอุปกรณ์ไฟฟ้าใดเสียหายให้แจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไขทันที
อุบัติการณ์การเกิด
ปี 2558 เกิดไฟไหม้ 806 ครั้ง
ปี 2559 เกิดไฟไหม้ 1,123 ครั้ง
ปี 2560 เกิดไฟไหม้ 1,533 ครั้ง
ปี 2561 เกิดไฟไหม้ 1,294 ครั้ง
ภัยสุขภาพ
ด้านอุบัติเหตุ
ความเสียหายต่อร่างกายและชีวิตเช่น ทำให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิต
ด้านสุขภาพจิต
ทำให้ประชาชนผู้ประสบภัยเกิดความตื่นตระหนก เสียขวัญ หวาดกลัว และหมดกำลังใจ
ด้านสุขภาพกาย
อาจจะมีการสูดสำลักควันเข้าไป มีปัญหาทางระบบหายใจได้
เเผ่นดินไหว
สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิด
2การเกิดตามธรรมชาติอันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก
อุบัติการณ์การเกิด
ปี 2563
รวมทั้งสิ้น 139เหตุการณ์จำแนกตามขนาดดังนี้
ขนาด น้อยกว่า 2.0 เมตร จำนวน 80 เหตุการณ์
ขนาด 2.0 - 2.9 เมตร จำนวน 55 เหตุการณ์
ขนาด 3.0 - 3.9 เมตร จำนวน 4 เหตุการณ์
เเนวทางการเเก้ไข
บุคคลที่อยู่บริเวณจุดเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว ควรจัดเตรียมเครื่องอุปโภคบริโภค ยารักษาโรคไว้ให้พร้อม
ขณะเกิดเหตุห้ามใช้ลิฟต์เพราะไฟฟ้าอาจดับได้ และควรมุดลงใต้โตะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันสิ่งของร่วงหล่นทับ
หากอยู่ภาคนอกอาคารให้หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้เสาไฟฟ้า กำแพง และอาคารสูง หายอยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลให้รีบขึ้นที่สูงที่ห่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นสึนามิได้
ควรออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้างให้สามารถรับแรงแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้
ควรมีการฝึกซ้อมการหลบภัยแผ่นดินไหวแต่ละชุมชนหรือหน่วงงานที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
ภัยสุขภาพ
ด้านสุขภาพกาย
ประชาชนได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากเศษสิ่งปรักหักพังและการล้มทับของสิ่งก่อสร้างต่าง เเละอาจเกิดเหตุอัคคีภัยหรือไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้ประชาชนบาดเจ็บหรือเสียชีวิต
ด้านสุขภาพจิต
สุขภาพจิตของผู้ประสบภัยเสื่อมลง
วาตะภัย
เเนวทางการเเก้ไข
หากอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อภัยพายุฤดูร้อน ควรเตรียมรับมือดังนี้
ติดตั้งสายล่อฟ้าในอาคารสูง ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากฟ้าผ่า
หมั่นติดตามสภาวะอากาศ และฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยาอยู่เสมอ - หากมีประกาศเตือนภัยให้เก็บสิ่งของที่มีน้ำหนักเบาสามารถปลิวตามลมได้ไว้ในที่มิดชิด ป้องกันสิ่งของถูกพายุพัดเสียหายและได้รับอันตรายจากการถูกสิ่งของพัดกระแทก
ตรวจสอบความแข็งแรงมั่นคงของบ้านเรือน หลังคา อาคารต่าง ๆ ให้เรียบร้อย เพราะจะเกิดลมพายุอย่างรุนแรงพัดเข้ามาด้วย ซึ่งอาจทำให้หลังคาบ้านปลิวไปพร้อมกับลม หรืออาจมีลูกเห็บตกลงมาทะลุหลังคาบ้านได้ หากประตูหรือหน้าต่างไม่แข็งแรง ควรใช้ไม้ทาบตีตะปูปิดตรึงไว้ เพื่อป้องกันแรงลมหอบพัดบ้านเรือนพังเสียหาย
ปรับปรุงสิ่งปลูกสร้างบริเวณรอบบ้านให้อยู่ในสภาพปลอดภัย ตัดแต่งกิ่งไม้และต้นไม้ที่เสี่ยงต่อการหักโค่น
หากพบต้นไม้ สายไฟเกี่ยวกิ่งไม้ ป้ายโฆษณา ฯลฯ ที่อยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยควรแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มาปรับปรุงแก้ไขโดยเร็ว
เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยง และพืชผลการเกษตร เกษตรกรควรจัดทำที่ค้ำยันต้นไม้ โดยเฉพาะกิ่งที่กำลังผลิดอกออกผล
หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมกลางแจ้ง เช่น ออกกำลังกาย ขณะเกิดฝนฟ้าคะนอง
หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด รวมทั้งโทรศัพท์ เมื่อเกิดฝนฟ้าคะนอง
จัดเตรียมอาหารแห้ง ยารักษาโรค ตะเกียง ไฟฉาย ไม้ขีดไฟ และวิทยุพกพาไว้ใช้ในยามฉุกเฉิน
สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำให้เกิด
เกิดจากการที่ความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคุลม ประเทศไทย จึงทำให้เกิดการปะทะกันระหว่างอากาศที่ร้อนชื้นของประเทศไทยและอากาศที่แห้งและเย็นจาก ประเทศจีน อากาศเย็นจะผลักให้อากาศร้อนชื้นลอยตัวขึ้นสู่ข้างบนอย่างรวดเร็ว จนเมื่อไอความชื้นขึ้นไปถึงชั้น บรรยากาศก็จะกลั่นตัวเป็นหยดน้ำจนก่อตัวเป็นเมฆฝนขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นก้อนสีเทาเข้มสูงมากกว่า 10 กิโลเมตร หรือที่เรียกว่า "เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)" ทำให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าแลบ และ ฟ้าผ่าตามมา และหากอุณหภูมิบนยอดเมฆต่ำกว่า ลบ 60 ถึง ลบ 80 องศาเซลเซียส ก็สามารถทำให้เกิด ลูกเห็บตกได้
อุบัติการณ์การเกิด
ปี 2563 : 3 จังหวัดได้รับผลกระทบ
น่าน
พายุโซนร้อน ซินลากู 31 ก.ค.-3 ส.ค. จากทะเลจีนใต้ตอนบน
พิษณุโลก
พายุโซนร้อน โนอีล 15-19 ก.ย. จากทะเลซิบูยันประเทศฟิลิปปินส์
อุบลราชธานี
พายุใต้ฝุ่น โมลาเบ 24 - 29 ต.ค. จาก มหาสมุทรเปซิฟิกเหนือด้านตะวันตก
ภัยสุขภาพ
ฤดูร้อน
3.โรคติดต่อที่พบมากขึ้นในฤดูร้อนมี 5 โรคสำคัญ
ไข้ไทฟอยด์หรือไข้รากสาดน้อย
อาการสำคัญ
ปวดเมื่อยตามตัว
มีอาการท้องผูกหรือมีอาการท้องเสีย
มีไข้ ปวดศีรษะ
เบื่ออาหาร
โรคบิด
อาการสำคัญ
ถ่ายอุจจาระบ่อย
อุจจาระมีมูกเลือดปน
ปวดเบ่งคล้ายอุจจาระไม่สุด มีไข้
โรคอาหารเป็นพิษ
เกิดในสถานที่ที่มีคนอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
อาหารที่ปรุงสุกๆดิบๆ นมที่ยังไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อ
อาหารที่ทำไว้ล่วงหน้านานๆ อาหารที่ไม่ได้อุ่นก่อนรับประทาน
อหิวาตกโรค
อาการสำคัญ
ถ่ายอุจจาระเหลวสีคล้ายน้ำซาวข้าว
มักไม่มีอาการปวดท้อง อาจมีอาเจียนร่วมด้วย
ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำครั้งละมากๆ
โรคอุจจาระร่วง
อาการสำคัญ
ถ่ายเป็นมูกเลือด
อาเจียนร่วมด้วย อาการมีตั้งแต่เล็กน้อยถึงรุนแรง เกิดอาการช็อก หมดสติ และเสียชีวิตได้
ถ่ายอุจจาระเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำ
4.โรคติดต่อที่มีรายงานการระบาดอย่างต่อเนื่อง
โรคไข้เลือดออก
ระบาดวิทยา ในปี 2561 ที่ผ่านมามีผู้ป่วย 85,849 ราย เสียชีวิต 111 คน
อาการสำคัญ
ไข้สูงลอย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
ตับโต กดเจ็บบริเวณชายโครงด้านขวา
คลื่นไส้อาเจียน บางรายมีจุดแดงที่ผิวหนัง
อาจมีภาวะเลือดออก เกิดภาวะช็อก การไหลเวียนของเลือดล้มเหลว
โรคพิษสุนัขบ้า
การป้องกัน
อย่าแยกสัตว์ที่กำลังกัดกันด้วยมือเปล่า
อย่าหยิบอาหารขณะสัตว์กำลังกิน
อย่าเหยียบบริเวณลำตัว ขา หรือหางของสัตว์
อย่ายุ่งกับสัตว์ที่ไม่รู้จักคุ้นเคย
อย่าแหย่ให้สัตว์โมโห
2.โรคและภัยสุขภาพที่เป็นผลจากอากาศร้อนแล้งและแดดจ้า
ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาหมอกควันโดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งประชาชนมีความเสี่ยงเจ็บป่วยจาก 4 กลุ่มโรค
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคตาอักเสบ
โรคทางเดินหายใจ
โรคผิวหนังอักเสบ
คำเเนะนำ
-หมั่นทำความสะอาดบ้าน
-สวมหน้ากากป้องกัน
-ปิดประตูหน้าต่างบ้านให้มิดชิด
-ไม่เผาขยะ ไม่เผาป่า
ลดการใช้รถยนต์ส่วนตัว
สังเกตหากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอบ่อย หายใจลำบาก หายใจถี่ หายใจมีเสียงวี๊ด แน่นหน้าอก ใจสั่น คลื่นไส้ เมื่อยล้าผิดปกติ วิงเวียนศีรษะ ให้รีบไปพบแพทย์ทันที
5.ภัยสุขภาพในฤดูร้อน
การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ำ
1.โรคและภัยสุขภาพที่เกิดจากอากาศร้อนโดยตรง
การเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากภาวะอากาศร้อนเกิดจากร่างกายไม่สามารถปรับตัวหรือควบคุมระดับความร้อนในร่างกายได้ พบได้บ่อยในผู้ที่ทำงานกลางแจ้งเป็นเวลานาน
ฝึกทหาร
เล่นกีฬา
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ดื่มน้ำเย็นและเช็ดตัวด้วยน้ำเย็น ให้อยู่ในที่ระบายอากาศที่ดี ถ้ามีอาการรุนแรง หมดสติ ควรรีบนำส่งโรงพยาบาลทันที
คำเเนะนำ
-งดหรือเลี่ยงออกกำลังกาย ทำงานหรือกิจกรรมกลางแดดจ้าเป็นเวลานาน
-ถ้าอยู่ในสภาพอากาศร้อนควรดื่มน้ำให้ได้ 1 ลิตร/ชั่วโมง
-สวมเสื้อผ้าที่ระบายเหงื่อได้ดี
-ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
-เฝ้าระวังและดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงวัย ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยเรื้อรังอย่างใกล้ชิด เพราะเป็นกลุ่มเสี่ยงอาจเสียชีวิตได้ง่าย
ฤดูหนาว
โรคปอดอักเสบ
กลุ่มเสี่ยงเสียชีวิต
เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปีผู้สูงอายุ ผูมีโรคประจำตัว ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงผู้คนแออัด ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วย ล้างมือบ่อย ๆ ฉีดวัคซีนพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน
โรคไข้หวัดใหญ่
กลุ่มเสี่ยงเสียชีวิต
ผู้สูงอายุอายุมากกว่า 65 ปี และมีโรคประจำตัว ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การป้องกัน
ดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เลือกรับประทานอาหาร ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วยไข้หวัด
โรคหัด
กลุ่มเสี่ยงเสียชีวิต
เดก็อายตุำ่กว่า 2 ปี และผู้ไม่เคยได้รับวัคซีนหัด
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน สำหรับเด็ก แนะนำให้ฉีด 2 เข็ม ประชาชนทั่วไป สามารถฉีดป้องกันและหลีกเลี่ยง การสัมผัสกับผู้ป่วย
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน
กลุ่มเสี่ยงเสียชีวิต
พบบ่อยในกลุ่มเด็กเล็ก อายุ 1-3 ปี
การป้องกัน
รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ และดื่มน้ำต้มสุก หมั่นล้างมือบ่อยๆ ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคอุจจาระร่วงจาก เชื้อโรตาไวรัส แตวัคซีนยังไม่ถูกบรรจุอยู่ในแผนงานสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
ฤดูฝน
โรคติดต่อนำโดยยุงลาย
โรคไข้ปวดข้อยุงลายหรือโรคชิคุนกุนยา
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
โรคไข้เลือดออก
โรคติดต่อจากการสัมผัส
โรคเลปโตสไปโรซิส หรือ โรคไข้ฉี่หนู
โรคมือ เท้า ปาก
โรคติดต่อทางเดินอาหารและน้ำ
โรคอุจจาระร่วง
ภัยสุขภาพ
อันตรายจากการกินเห็ดพิษ
อันตรายจากการถูกงูพิษกัด
การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการถูกฟ้าผ่า
โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ
โรคไข้หวัดใหญ่
โรคปอดอักเสบ