Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย 8FDC1B75-424C-4734-8A2C-5CE606AB6A02,…
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทย
-
สมัยธนบุรี
-
มีคณะละครหลวงและเอกชนเกิดขึ้นหลายโรงเช่น
-ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล
-หมื่นโวหารภิรมย์
นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรหลวงวาทีอีกด้วย
หลวงวิชิตณรงค์
-
ทรงได้ฟื้นฟูละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์ละครเรื่องรามเกียรติ์ขึ้นมาอีก5ตอน
1.หนุมานเกี้ยวนางวาริน
2.ปล่อยม้าอุปการ
3.ทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด
4.ท้าวมาลีราชว่าความ
5.พระลักษณ์ถูกหอกบิลพัท
สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องจากกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อพศ.2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆเพราะผลจากการสงคราม
-
-
สมัยสุโขทัย
-
พบหลักฐานการละครและการฟ้อนรำ ปรากฏอยู่ในศิสาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหง ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อจักเข้ามาเรียงก้นแต่อริญญิกพู้นเท้าหัวล้านด้วยเสียงพาทย์ เสียงมักหัว หัวใครมักเลื่อน เลื่อน
จึงทำให้ได้รับวัฒนธรรมของอินเดียผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย มีการบัญญัติศัพท์ขึ้นใหม่เพื่อใช้เรียกศิลปะการเเสดงของไทยว่า โขน ละคร ฟ้อนรำ
มีการแสดงคือ มโนราห์
-
-
สมัยอยุธยา
-
สมัยอยุธยา ละครไทยเริ่มจัดระเบียบแลบแผนให้รัดกุมมากขึ้น มีการตั้งชื่อละครที่เคยเล่นกันอยู่ให้เป็นไปตามหลักวิชานาฏศิลป์ มีการแสดงเกิดขึ้นหลายอย่าง เช่นละครชาตรี ละครนอก ละครใน
-
นาฏศิลป์ไทยได้รับอิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากวัฒนธรรมอินเดีย เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่เป็นเรื่องของเทพเจ้า และตำนานการฟ้อนรำ และตำนานการฟ้อนรำ โดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม คือผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นไปตามรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย
-
สมัยน่านเจ้า
-
-
ในสมันน่านเจ้าที่มีปรากฏอยู่ก่อนหน้านี้คือการแสดงจำพวกระบำทเช่น ระบำหมาก รำบำหางนกยูง
-
-
สมัยสุโขทัย
-
พ่อขุนผาเมือง
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
-
-
สมัยน่านเจ้า
พระเจ้าโก๊ะล่อฝง
-
-
สมัยอยุธยา
พระนารายณ์มหาราช
:
-
-
-