Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท, images (3), 58299, 58296, 58301, 58302, 58300, 58297, 58303,…
ระบบประสาท
ระบบประสาท
เป็นระบบที่ควบคุมการทำหน้าที่ของส่วนต่างๆของทุกระบบในร่างกายให้ทำงานประสานสัมพันธ์กันเป็นแหล่งที่มาของความคิด ความรู้สึก สติปัญญา ความฉลาดไหวพริบ การตัดสินใจ การใช้เหตุผลและการแสดงอารมณ์อีกด้วย
ชนิดของเซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่
- เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) คือเซลล์ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึกแล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ
- เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) คือ เซลล์ที่คอยส่งกระแสประสาทออกจากไขสันหลังเพื่อนำกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงานมักมีใยประสาทแอกซอนที่ยาว
- เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron ) คือ เซลล์ที่เชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการใยประสาทของเซลล์ประสาทประสานงานมักจะสั้น
ชนิดของเซลล์ประสาทแบ่งตามรูปร่าง
- Anaxonic neuron
- Unipolar neuron
- Bipolar neuron
- Multipolar neuron
Anaxonicneuron
เป็นเซลล์ประสาทขนาดเล็กใยประสาทที่ยื่นออกจากตัวมีลักษณะคล้ายกัน แยกไม่ออกว่าเป็น dendrite หรือ axon
ส่วนใหญ่พบที่สมองหรืออวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ หน้าที่ยังไม่แน่ชัด
เซลล์ประสาทขั้วเดียว( Unipolar neuron )
ใยประสาทที่ยื่นแยกจากตัวเซลล์เพียง 1 เส้น แล้วแตกออกเป็น 2 แขนง ทำหน้าที่เป็นแอกซอนและเดนไดรต์พบได้ที่ปมประสาทด้านหลังของไขสันหลัง ปมประสาทของประสาทสมองคู่ที่ 5 ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
เซลล์ประสาทชนิดสองขั้ว(Bipolar neuron)
มีใยประสาทที่มีส่วนที่ยื่นแยกจากตัวเซลล์ 2 ข้างคือมี 1 เดนไดรต์(dendrite) และ 1 แอกซอน (axon)
พบได้ที่เซลล์ประสาทบริเวณเรตินาในดวงตา เซลล์รับกลิ่นในจมูกและเซลล์ของหูชั้นใน ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
เซลล์ประสาทหลายขั้ว (Multipolar neuron)
มีใยออกจากตัวเซลล์หลายเส้นประกอบด้วยเดนไดรต์แตกแขนงสั้นๆมากมายและแอกซอนยาวเพียงเส้นเดียว
พบได้ที่เซลล์ประสาทสั่งการของสมองและไขสันหลังและเซลล์เปอร์คินเจ (Purkinje cell)ในซีรีเบลลัมส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาทสั่งการและเซลล์ประสาท ประสานงาน (motor and association neuron)
ไซแนปส์(Synapse)
ป็นรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาท กระแสประสาทจะส่งผ่านจากตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งโดยส่วนของเซลล์ประสาทที่ไปเชื่อมกับตัวอื่นทางด้านแอกซอนซึ่งบริเวณส่วนปลายนี้จะมีตำแหน่งในการสร้างสารเคมี (neurotransmitter) โดยจะปล่อยสารเคมีออกมา 2 ตัวคือ
- สารเคมีที่มีฤทธิ์กระตุ้นได้แก่ acetylcholine
- สารเคมทีี่มฤีทธ์ิยับย้ัง ได้แก่ gamma aminobutyric : GABA
หน้าที่ของไซแนปส์
- ทำให้คำสั่งหรือกระแสประสาทเดินทางถ่ายทอดเป็นทางเดียวเท่าน้ันช่วยให้ระบบประสาทแผ่กระแสประสาทไปยังส่วนรับคำสั้งได้อย่างเรียบร้อยไม่ยุ่งเหยิงสับสน
- ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ (amplifying action) โดยมีการรวมกัน (summation) หรือกระจายกระแสประสาทออกทำให้คำสั่งน้ันแผ่กระจายกว้างขวางมากขึ้น
- ทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงาน (intregative action) ของคำสั่งต่างๆมีทั้งการเร่ง
ระบบประสาทส่วนกลาง
(central nervous system: CNS)
- ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง
- ทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาทนอกส่วนกลางในการควบคุมพฤติกรรม
- โครงสร้างของระบบประสาทกลางจะอยู่ภายในช่องลำตัวด้านหลังสมองอยู่ในช่องลำตัวด้านศีรษะและไขสันหลังอยู่ในช่องไขสันหลัง
- โครงสร้างเหล่านี้ถูกปกคลุมด้วยเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง
- สมองยังถูกปกคลุมด้วยกะโหลกศีรษะและไขสันหลังยังมีกระดูกสันหลังช่วยป้องกันการกระทบกระเทือน
สมอง
- สมอง(Brain)
- มีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว,พฤติกรรม และรักษาสมดุลภายในร่างกาย เช่นการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตสมดุลของเหลงในร่างกายและอุณหภูมิ เป็นต้น
- หน้าที่ของสมองยังเกี่ยวข้องกับการรู้ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว และความสามารถอื่นๆที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
สมองแบ่งได้เป็น 4 ส่วน
สมองมีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น แบ่งเป็น 4 ส่วน
- Cerebrum สมองใหญ่: เปลือกสมองใหญ่,แบซอลแกงเกลีย
- diencephalon: ทาลามัส,ไฮโปทาลามัส
- Cerebellum สมองน้อย
- Brain stem ก้านสมอง; สมองส่วนกลาง พอนส์เมดุลลา
ไขสันหลัง (spinal cord)
มีลักษณะเรียวยาวโป่งออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนคอกับส่วนอก ส่วนปลายจะเรียวแหลมไขสันหลังต่อจาก medulla oblongata ต้ังแต่ foramen magnum ลงมาอยู่ในช่องกระดูกสันหลังสิ้นสุดที่ส่วนเอวL1-2 โดยมีเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังหุ้มอยู่ซึ่งด้านนอกจะเป็นสีขาวเป็นที่อยู่ของใยประสาท ด้านในสีเทาเป็นตัวของเซลล์
ด้านข้างไขสันหลังเป็นทางออกรากประสาท(nerve root) 31คู๋
เยื่อหุ้มไขสันหลัง
- dura mater
- arachnoid mater
- pia mater
- subarachnoid space – CSF (cerebrospinal fluid)
หน้าที่
- การถ่ายทอดกระแสประสาทโดยรับความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆของร่างกายไปยังสมองและนำกระแสประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่าง ๆ
- ควบคุมการเกิดรีเฟลกซ์(reflex) ที่เกิดในไขสันหลังที่ทำงานเกี่ยวกับแขน ขา ลำตัว
Peripheral nervous system:PNS
ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย
- เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) มี 12 คู่
- เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve ) 31 คู่
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve)
- I ดมกลิ่น (S)
- II มองเห็น (S)
- III กลอกตา (M)
- IV กลอกตา (M)
- V สัมผัสใบหน้า, การเคี้ยว (S,M)
- VI กลอกตา (M)
- VII รับรส, แสดงสีหน้า (S,M)
- VIII ได้ยินทรงตัว (S)
- IX รับรส, การกลืน (S,M)
- X กล่องเสียงช่องอก,การกลืน(S,M)
- XI คอหอยกล่องเสียงไหล่ (M)
- XII กล้ามเนื้อลิ้น (M)
ระบบประสาทส่วนปลาย
ประสาทไขสันหลัง มี 31คู่
- เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่
- เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่
- เส้นประสาทบริเวณเอว (lumbar never) 5 คู่
- เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral never) 5 คู่
- เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal never) 1 คู่
เซลล์ประสาท
ร่างกายจะมีเซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron ) ปรากฏอยู่ทั่วร่างกายจำนวนมากนับเป็นพันๆเซลล์ที่สามารถเชื่อมโยงกันรับและส่งสัญญาณระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายในร่างกาย ทำหน้าที่กระตุ้นบางชนิดทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของอวัยวะต่างๆบางชนิดเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ที่ผลิตสารเคมีคล้ายฮอร์โมนและบางชนิดเป็นเซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาทหรือเซลล์ค้ำจุนเรียกว่า เซลล์พี่เลี้ยง (neuroglia) เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดจะรวมกันที่ส่วนหัว ซึ่งพัฒนาไปเป็นสมองและมีส่วนที่ต่อจากสมองทอดยาวตามลำตัวทางด้านหลังเรียกว่าไขสันหลัง
-
ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic NervousSystem)
- ระบบประสาทซิมพาเธติก(Sympathetic nervous System)
:star: ศูนย์กลางอยู่บริเวณไขสันหลังจะทำงานในกรณีที่บุคคลตกอยู่ในสภาวะฉุกเฉินร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาตื่นตัวเพื่อเตรียมพร้อมที่จะสู้หรือหนีจากสถานการณ์เหล่านั้น
:star: ปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้น : ขนลุกตั้งชัน ชีพจรเต้นเร็วกว่าปกติ เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วและรัว
- ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก(parasympathetic nervous system)
:star: มีศูนย์กลางอยู่ที่ก้านสมอง (medulla) และไฮโปทาลามัส (hypothalamus) โดยระบบนี้ จะทำงานควบคู่กับระบบซิมพาเธติก
:star:เส้นขนจะราบลงชีพจรหัวใจและความดันโลหิตจะกลับคืนสภาพเดิม
การรับรู้ชนิดพิเศษของร่างกาย (Special senses)
:explode:การมองเห็น
:explode:การได้ยิน &การทรงตัว
:explode:การได้กลิ่น
:explode:การรับรส
:explode:การรับความรู้สึกสัมผัส
การมองเห็น (visual sensations)
โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น
:<3:ส่วนประกอบภายนอกลูกตา
:<3:ส่วนประกอบภายในลูกตา
:<3:ประสาทตาและสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง
ส่วนประกอบภายนอกลูกตา
:red_flag:หนังตาบนและล่าง (upper and lower eyelids หรือ palpebrae)
- orbiscularis oculi muscle
- tarsal or Meibomian gland
-
:red_flag:โครงสร้างที่เกี่ยวขอ้งกับน้ าตา (lacrimal apparatus)
- Lacrimal gland
- Excretory lacrimal ducts
- Lacrimal puncta
- Lacrimal canal: sup,inf.
- Nasolacrimal duct
- Inferior nasal concha
ส่วนประกอบภายในลูกตา
:red_flag:ชั้นนอกสุด (fibrous tunic)
- cornea เป็นช่องด้านหน้าโปร่งแสงทางผ่านของแสง
- sclera เป็นเนื้อเยื่อเส้นใย (fibrous tissue) ทำหน้าที่ป้องกัน อันตรายให้แก่เนื้อเยื่อชั้นใน
:red_flag:ชั้นหลอดเลือด (vascular tunic or uvea)
- choroid or pigmented layer ประกอบด้วยเส้นเลือดฝอยจำนวนมากเป็นที่ส่งผ่านอาหารให้แก่ส่วนอืนๆ ภายในลูกตาและมีเม็ดสีช่วยดูดซึมลำแสงส่วนเกินและลดการสะท้อนของแสงที่เข้าลูกตา
- ciliary body :ciliaryprocess, ciliary muscle
- iris ม่านตามีรูตรงกลาง
- lens
:red_flag:เลนส์ตา
- โปร่งแสง ไม่มีสียืดหยุ่นสูง
- ถูกยืดอยู่กับที่ด้วยเอ็นยึดเลนส์ (lens ligament)
- มีม่านตา (iris) กล้ามเนื้อเรียบแผ่นบางๆที่ยื่นมาปิดเลนส์ตาทึบแสงปกคลุมด้านหน้าให้แสงผ่านได้ บริเวณตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา (pupil)
:red_flag: ชั้นจอประสาทตา (retina or light-sensitive layer)
- มีเนื้อเยื่อประสาทจำนวนมาก
- pigment layer
- เซลล์รับแสง (visual receptor cells or light-sensitive cells)
รูปแท่ง (rod cells) มีความไวต่อแสงมากกว่าเซลล์รับแสงรูปกรวยถูกกระตุ้นได้ง่ายด้วยแสงเพียงเล็กน้อยทำให้มองเห็นในที่มืด
รูปกรวย (cone cells) มีหน้าที่สำหรับการมองเห็นภาพสีหรือในขณะที่มีแสงเข้ม
:red_flag:ส่วนประกอบภายในลูกตา (interior of the eyeball)
:star:โพรงด้านหน้า (anterior cavity) ช่องว่างหน้าเลนส์
- anterior chamber อยู่ด้านหน้า iris
- posterior chamber อยู่ด้านหลัง iris
:star:โพรงด้านหลัง (posterior cavity)บรรจุ vitreous humor ช่วยให้ลูกตาคงรูปร่าง
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง retina
- retinal vessels
- choroid capillary plexus เลี้ยงบริเวณส่วนนอก (outer segment) ใกล้กับชั้น choroid ช่องว่างและของเหลวภายในลูกตา
กลไกการเกิดภาพ (image-forming mechanism)
:explode:แสงตกกระทบ รงควัตถุไวแสงใน rod cells และ cone cells
:explode:เซลล์สัญญาณประสาทเชื่อม (interneurons)
:explode:แปลสัญญาณประสาทที่สมอง
:red_flag:การได้ยินและการทรงตัว(auditory sensations and equililbrium)
หูแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
:lock:หูส่วนนอก (external ear)
- ใบหู (pinna ,auricle)
-external auditory canal เป็ นท่อยาว 2.5 ซม.
- เยื่อแก้วหู (tympanic membrane or eardrum)
หูส่วนนอกทำหน้าที่
- รับเสียง (auditory function) รวมเสียงผ่านไปกระทบเยื่อแก้วหู (tympanic membrane or ear drum)
- ป้องกันอันตราย (protective function)
:lock:หูส่วนกลาง (middle ear หรือ tympanic cavity)
- ตั้งอยู่ใน temporal bone
- ส่วนหลังจะติดต่อกับ mastoid air cell ของกระดูก temporal bone เรียก tympanic antrum
- eustachian tube (auditory tube)
- auditory ossicles ได้แก่ malleus, incus , stapes
- tensor tympani muscle ,stapedius muscle
- acoustic หรื อ tympanic หรื อ attenuation reflex
หูชั้นกลาง (middle ear) เป็นโพรงอากาศติดต่อกับโพรงจมูกและลำคอผ่านทางท่อ eustachian tube
- ท่อ eustachian tube ทำหน้าที่ปรับความดัน 2 ด้านของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน
- ภายในหูชั้นกลางมีกระดูก (auditory ossicles) 3 ชิ้น
- กระดูกฆ้อน (malleus) ติดกับ ear drum
- กระดูกทั่ง (incus)
- กระดูกโกลน (stapes) ติดกับ oval window กระดูกทั้ ง 3 ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นเสียง (air-borne sound) ให้เกิดเป็นคลื่นของเหลว (fluid-borne sound)
:red_flag:หูส่วนใน (internal or inner era)
bony labyrinth ส่วนที่เป็นท่อกระดูก
- labyrinth (outerbony labyrinyh)
- membranous labyrinth ส่วนที่เป็นเนื้อเยื่อ
- semicircular canals
- vestibule (utricle & saccule )
- cochlea
- perilymph CSF (cerebrospinal fluid) perilymph
- endolymph คล้ายกับ ICF (intracellular fluid)
หูชั้นในทำหน้าที่
- ส่วนที่ใช้ฟังเสียง (auditory apparatus)
- คอเคลีย (cochlea)
- ส่วนทีใช้ในการทรงตัว (vestibular apparatus)
- ท่อครึ่งวงกลม (semicircular canals)
- saccule
- utricle
สารที่กระตุ้นเซลล์ตัวรับกลิ่น
- ต้องระเหยได้
- ละลายน้าได้
- ละลายได้ในไขมัน
สารที่ละลายไดด้ีท้ังในไขมันและน้ำจะกระตนุ้เซลลร์ับกลิ่นได้ดีกว่าสารที่ละลายได้ในน้ำหรือน้ำมันอย่างเดียว
การรับรส (gustatory sensations หรือ taste)
gustatory cell เซลล์รับรสอยู่ในปุ่ มรับรส (taste bud)ประมาณ10,000 ปุ่ม สำหรับคนหนุ่มสาว ส่วนใหญ่จะอยู่บนลิ้นส่วนน้อยจะอยู่บน soft palate , larynx และ pharynx
ปุ่มรับรสที่พบบริเวณลิ้นเรียก papillae ได้แก่
- circumvallate papillae พบที่บริเวณโคนลิ้นเป็นรูปตัววีกลับหัว
- fungiform papillae อยู่ตรงปลายลิ้นและข้างลิ้น
- filiform papillae ปกคลุมส่วนหน้าประมาณ2/3 ส่วนของลิ้น
- Foliate papillae เป็นสันนูนเล็กๆ ขนานอยู่ด้านข้างลิ้น พบมากในสัตว์
รสพื้นฐานและตำแหน่งที่อยู่
- รสหวาน ปลายลิ้น
- รสเค็ม ขอบลิ้นด้านหน้าถัดรสหวานเข้าไป
- รสเปร้ียว ขอบลิ้นด้านข้างถัดมาทางโคนลน
- รสขม บริเวณโคนลิ้นรับรสได้ดีที่สุด
• รสมันกระตุ้นปุ่มรับรสเค็มกับหวาน
• รสเผ็ด กระตุ้นตัวรับความรู้สึกเจ็บปวด และตัวรับความรู้สึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-