Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด - Coggle Diagram
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เทคนิคสนทนาเพื่อการบำบัด
Offering - Self การเสนอตนเองเพื่ออยู่เป็นเพื่อน
เทคนิคในการกระตุ้นให้ผู้รับบริการพูดนำ
Using General Lead การใช้คำกล่าวนำโดยทั่วไป
การใช้คำว่า “คะ” หรือ “หรือคะ” “แล้วอย่างไรต่อไป ล่ะคะ
Using Broad Opening ใช้คำกล่าวกว้างๆ
. Reflection การสะท้อนความรู้สึก
. Restating การทวนความ
Accepting การยอมรับผู้รับบริการ และสิ่งที่ผู้รับบริการพูด
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นผู้รับบริการให้ผู้รับบริการพูดระบายความรู้สึก
Sharing Observation คือ การบอกกล่าวสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นได้ในตัวผู้รับบริการ
Acknowledge the Patient’s Feeling รับรู้ความรู้สึกของผู้รับบริการ
Questioning การถาม
ปลายเปิดมากกว่าปลายปิด (Open – Ended Question)
Actively Listening การฟังอย่างตั้งใจ
. Using Silence การเงียบ
เทคนิคที่ช่วยให้พยาบาลมีความเข้าใจตรงกันกับผู้รับบริการ
Clarifying การให้ความกระจ่าง คือ ความพยายามในการที่จะเข้าใจในคำกล่าวของผู้รับบริการ
Validating คือ การตรวจสอบว่าความเข้าใจของพยาบาลถูกต้องตรงกับความต้องการความรู้สึกของ ผู้รับบริการหรือไม่
เทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้รับบริการคิดไตร่ตรองเรื่องราวของเขาใหม่
Exploring การสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูลกระจ่างขึ้น
Encouraging Evaluation การกระตุ้นให้ผู้รับบริการได้ประเมินตัวเอง
Focusing เป็นการมุ่งประเด็นไปที่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
Giving Feedback การให้ข้อมูลย้อนกลับ เ
. Voicing Doubt การตั้งข้อสงสัย
. Giving Suggestion การให้คำแนะนำ
Presenting Reality การบอกสภาพความเป็นจริงเพื่อให้ผู้รับบริการพิจารณาให้ชัดเจน
. Summarizing การสรุปข้อความเมื่อผู้รับบริการพูดจบแล้ว
Giving Recognition การให้ความสำคัญ
การให้ Recognition อย่างหนึ่ง หรือการบอกเล่าสิ่ง
Giving Information การให้ข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริงแก่ผู้รับบริการ
การแนะนำชื่อของพยาบาล ตำแหน่ง
องค์ประกอบของการสนทนาเพื่อการบำบัด
การจัดท่านั่ง
ไม่ จัดที่นั่งชิดกันจนเกินไป เพราะจะมีผลต่อการสนทนา
นั่งเยื้องกันเล็กน้อยในลักษณะเป็นมุม เท่ากับหรือมากกว่า 90 องศา นั่งหันหน้า เข้าหากัน
เวลาในการสนทนา : 30-60 นาที
สถานที่สนทนากับผู้ใช้บริการ (Setting) สถานที่ที่เงียบสงบ มีสัดส่วนเป็นส่วนตัว (Privacy)