Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 เครื่องมือในการบําบัดทางการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 3 เครื่องมือในการบําบัดทางการพยาบาลจิตเวช
การตระหนักรู้ในตนเอง และการใช้ตนเองเพื่อการบําบัด
การตระหนักรู้ในตนเอง (Self awareness)
อัตตา (Self)
ส่วนรวมทั้งหมดของบุคคล ซึ่งประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ สังคม พฤติกรรม ค่านิยม ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเองตามความเป็นจริง
พัฒนาการของอัตตา (Self development) การรับรู้ตนเองมีมาตั้งแต่เกิด และพัฒนามาตลอดจนถึงวัยสูงอายุ โดยได้รับอิทธิพลจากการอบรมเลี้ยงดูการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลสําคัญในครอบครัว
อัตมโนทัศน์ (Self concept)
เป็นการรับรู้และตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองในด้านต่าง ๆ เช่น ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ ความสามารถ ความภาคภูมิใจ
อุดมคติแห่งตน (Self Idea/Image)
เป็นอุดมคติ ความหวัง ภาพในอนาคตหรือความปรารถนาที่ตนเองอยากเป็น
ภาพลักษณ์ทางกายแห่งตน (Body Image)
เป็นการรับรู้เกี่ยวกับร่างกายของตน เช่น น้ําหนัก ส่วนสูง ความพิการ การเจ็บป่วยทางกายและจิตใจ
มโนธรรมแห่งตน (Moral Image)
เป็นความคิด ความเชื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆของตน ว่ามีความถูกต้อง รู้รับผิดชอบชั่วดี
ศักดิ์ศรีแห่งตน (Self esteem)
เป็นการยอมรับนับถือตนเอง ประเมินตนเองในด้านบวกและลบ เช่น ความมีคุณค่า ความละอาย ความรัก ความเกลียด ความเคารพ การนับถือตนเอง
เอกลักษณ์เฉพาะตน (Self of identity)
เป็นส่วนประกอบที่สําคัญของความเป็นตัวของตนของบุคคลมีความแตกต่างเฉพาะคน ซึ่งประกอบด้วยบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัย เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา ประเพณี
การตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง
(Self awareness and Self understanding)
พฤติกรรมการแสดงออก ปฏิกิริยาตอบโต้กับบุคคลอื่น
ความคิดความรู้สึกที่มีต่อตนเองต่อบุคคลอื่น และต่อสถานการณ์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ การคิด ความจํา อารมณ์ ความรู้สึก
ความต้องการ หรือความปรารถนา หรือมีเป้าหมายในชีวิตทั้งในระยะสั้นและยาว
ศักยภาพ ความสามารถ กําลังกายและใจที่จะต้องใช้เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
การมีปฏิสัมพันธ์และการสังคมกับบุคคลอื่น ในสถานการณ์ที่แตกต่างกันไป
การใช้ตนเองเพื่อการบําบัด (Therapeutic use of Self)
คุณลักษณะของพยาบาลต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิต
การรักษาความลับ : รักษาจรรยาบรรณของวิชาชีพ รักษาความลับเรื่องราวของผู้รับบริการอย่างเคร่งครัด
มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและการใช้ตนเองเพื่อการบําบัด
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด
เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้รับบริการ
Giving Recognition
Giving Information
Offering - Self
เทคนิคในการกระตุ้นให้ผู้รับบริการเป็นฝ่ายนําการสนทนา
Using General Lead
Using Broad Opening
Reflection
Restating
Accepting
เทคนิคที่ช่วยให้พยาบาลมีความเข้าใจตรงกันกับผู้รับบริการ
Clarifying
Validating
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นผู้รับบริการให้ผู้รับบริการพูดระบายความรู้สึก
Questioning
Actively Listening
Acknowledge the Patient’s Feeling
Using Silence
Sharing Observation
เทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้รับบริการคิดไตร่ตรองเรื่องราวของเขาใหม่
Focusing
Encouraging Evaluation
Exploring
Giving Feedback
Voicing Doubt
Giving Suggestion
Summarizing
Presenting Reality
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
เครื่องมือสําคัญในการปฏิบัติการพยาบาล
Action-oriented
Satisfaction gain
Process dynamic
Terminated-relationship
Helping
Goal directed
ความหมาย
กระบวนการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่พยาบาลใช้ตนเองเป็นสื่อในการบําบัด และใช้สัมพันธภาพทางวิชาชีพขณะติดต่อสื่อสารเพื่อบําบัดทุกข์ทางใจให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ และสามารถติดต่อกับบุคคลอื่นได้ มีสุขภาพดีขึ้น มีความสุขใจมากขึ้น
ระยะของสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ขั้นเตรียมการสร้างปฏิสัมพันธ์ (Pre Initiating phase)
ขั้นการสร้างปฏิสัมพันธ์ (Initiating phase)
ระยะแก้ไขปัญหา (Working Phase)
ระยะยุติสัมพันธภาพ (Terminating Phase)
องค์ประกอบของการสนทนาเพื่อการบําบัด
สถานที่สนทนากับผู้ใช้บริการ (Setting)
การจัดท่านั่ง (Seating Arrangement)
เวลาในการสนทนา : 30-60 นาที
นางสาวศศิกานต์ ชูแก้ว
รหัสนักศึกษา 62122301080