Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Introduction to Economics - Coggle Diagram
Introduction to Economics
ความหมายและความสำคัญ
ทางเลือก (choice)
เลือกเพื่อให้เกิดความพอใจสูงสุด
ความไม่สมดุลระหว่างความต้องการที่ไม่จำกัดกับทรัพยากรการผลิตที่มีจำกัด
เกิดขิ้นเนื่องจากทรัพยากรนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายทาง
ทรัพยากรการผลิต (productive resources)
ทรัพยากรที่น ามาเพื่อผลิตสินค้าและบริการ เรียกอีกอย่าง
หนึ่งว่า “ปัจจัยการผลิต”
ปัจจัยการผลิต
แรงงาน (labor) ผลตอบแทน ค่าจ้าง (wage)
ทุน (capital) ผลตอบแทน ดอกเบี้ย (interest)
ที่ดิน (land) ผลตอบแทน ค่าเช่า (rent)
ผู้ประกอบการ (entrepreneur) ผลตอบแทน กำไร (profit)
การมีอยู่จำกัด (scarcity)
ความจำกัดนี้เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในทุกระดับของสังคมและเกิดขึ้นตลอดเวลา
ความจำกัดจะปรากฏชัดเจนมากขึ้นเมื่อทรัพยากรส่วนหนึ่งถูกใช้หมดไป
ทรัพยากรทุกอย่างในโลกล้วนมีอยู่อย่างจำกัด
ปรากฏการณ์นี้จะไม่เกิดขึ้นหากมีการค้นพบวิทยาการใหม่
สินค้าและบริการ (goods and services)
ความต้องการไม่จำกัด (unlimited wants)
ปัญหาพื้นฐาน
ผลิตอย่างไร (How)
ทำการผลิตอย่างไร
วิธีไหน
ผลิตเพื่อใคร (for whom)
จำหน่ายแจกจ่ายผลผลิตอย่างไร
ใครจะได้บริโภคสินค้าที่ผลิตขึ้นนั้น
ผลิตอะไร (What)
จะเลือกผลิตสินค้าชนิดใด
เป็นจำนวนเท่าไร
ระบบเศรษฐกิจและรูปแบบของระบบเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มของหน่วยเศรษฐกิจ
การผลิต
การบริโภค
รูปแบบของระบบเศรษฐกิจ
เสรีภาพในการผลิตสินค้าและบริการ
เสรีภาพในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการ
การถือครองกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
การจัดสรรทรัพยากรการผลิต
การจัดสรรสินค้าและบริการ
Economic System
แบบสังคมนิยม (socialism)
รัฐมีอำนาจสมบูรณ์ในการจัดสรทรัพยากรและสินค้า
สมาชิกของสังคมขาดเสรีภาพในการทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจ
รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
รัฐตัดสินปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจด้วยตนเอง
แบบผสม (mixed economy)
รัฐบาลจะเข้าแทรกแซงราคาหรือกลไกตลาด เพื่อความสงบ เรียบร้อยและเป็นธรรม
ราคาหรือกลไกตลาดยังคงมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจในส่วนที่รัฐไม่เข้าไปแทรกแซง
เอกชนมีเสรีภาพในการทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจเต็มที่
รัฐและเอกชนเป็นเจ้าของการผลิตทุกชนิดได้
แบบทุนนิยม (capitalism)
เอกชนมีสิทธิเสรีภาพในการทำกิจกรรมด้านเศรษฐกิจ
เอกชนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทุกชนิด
มีกำไรเป็นแรงจูงใจในการผลิต
รัฐบาลเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจและความสัมพันธ์ในระบบเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ
หน่วยธุรกิจ (household)
ทำหน้าที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และเป็นผู้บริโภค
หน่วยครัวเรือน (firm)
เป็นผู้รวบรวมปัจจัยการผลิต
ผลิตสินค้าและบริการจำหน่ายให้ผู้บริโภค