Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 เครื่องมือในการบำบัด ทางการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 3 เครื่องมือในการบำบัด
ทางการพยาบาลจิตเวช
3.1 การตระหนักรู้ในตนเอง
และการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
3.1 การตระหนักรู้ในตนเอง (Self awareness)
ภาพลักษณ์ทางกายแห่งตน (Body Image)
เป็นการรับรู้เกี่ยวกับร่างกายของตน
มโนธรรมแห่งตน (Moral Image) เป็นความคิด ความเชื่อ
ศักดิ์ศรีแห่งตน (Self esteem)
เอกลักษณ์เฉพาะตน (Self of identity)
การตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง
(Self awareness and Self understanding)
อุดมคติแห่งตน (Self Idea/Image)
อัตมโนทัศน์ (Self concept)
อัตตา (Self) หรือตัวตนของตนเอง
แนวทางการพัฒนาการตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง
การพัฒนาจิตใจโดยการศึกษาธรรมะประพฤติ
ปฏิบัติตามหลักศาสนาและคุณธรรมที่ได้กำหนดไว้
การประเมินตนเองตามความเป็นจริง ไม่อคติ
การเปิดใจให้กว้าง รับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
Abraham Maslow
ลักษณะของบุคคลที่มีความเข้าใจต่อตนเอง
และโลกอย่างถ่องแท้ (Self actualization)
มีอิสระเสรี มีความเป็นตัวของตัวเอง
มองโลกและคนรอบข้างในแง่ดี
มีความสามารถอยู่ได้อย่างมีความสุข
มีการตื่นตัวอย่างมีสติ
วิเคราะห์ปัญหาได้และแก้ไขได้ตรงจุดโดยไม่เข้าข้างตนเอง
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างดี
มีความเป็นธรรมชาติปราศจากการแสแสร้ง
รู้จักคบเพื่อนที่มีทัศนคติตรงกัน
ยอมรับตนเองและผู้อื่น
ยึดถือค่านิยมที่ถูกต้อง เป็นประชาธิปไตย
สามารถเข้าใจสภาพความเป็นจริง โดยถ่องแท้
ยึดมั่นในหลักศีลธรรม
มีความสามารถในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆให้แก่ชีวิต
มีอารมณ์ขันอย่างมีสติ
ประโยชน์ในการตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง
บุคคลสามารถนาข้อมูลที่ได้จากการรับฟัง ความคิดเห็นจากผู้อื่น
บุคคลสามารถใช้ประสบการณ์ที่เรียนรู้และเช้าใจตนเอง
เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้และทาความเข้าใจ บุคคลอื่น
บุคคลสามารถเข้าใจตนเองในทุกๆด้าน
การมีสติระลึกรู้เท่าทันความคิดอารมณ์ความรู้สึกของตน
3.1 การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด (Therapeutic use of Self)
พยาบาลต้องพยายามตระหนักในตนเอง
ที่จะเรียนรู้จักและเข้าใจตนเองให้มากที่สุด
ประยุกต์องค์ความรู้จากศาสตร์ทางการพยาบาล และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการพยาบาลแก่บุคคล
สามารถผสมผสานการใช้สัมพันธภาพเพื่อการบำบัดกับการใช้ตนเองเพื่อการบำบัดในการพยาบาล
ปัจจัยสนับสนุนให้การใช้ตนเองเพื่อการบำบัดและการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดประสบผลสำเร็จ
คุณลักษณะของพยาบาลต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหา สุขภาพจิต
การรักษาความลับ : รักษาจรรยาบรรณของวิชาชีพ รักษาความลับเรื่องราวของผู้รับบริการอย่าง เคร่งครัด
มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพจิตและการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด
3.2 การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
สัมพันธภาพเพื่อการบำบัดในการพยาบาลสุขภาพจิตนั้นเป็นกระบวนการติดต่อสื่อสารระหว่าง บุคคลที่พยาบาลใช้ตนเองเป็นสื่อในการบำบัด และใช้สัมพันธภาพทางวิชาชีพขณะติดต่อสื่อสารเพื่อบำบัดทุกข์ทาง ใจให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ และสามารถติดต่อกับบุคคลอื่นได้ มีสุขภาพดีขึ้น มีความสุขใจมากขึ้น สามารถ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมและสามารถพัฒนาตนเองต่อไป
สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ (Professional Relationship)
Goal directed เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่มีจุดประสงค์เฉพาะเพื่อการช่วยเหลือผู้รับบริการให้พัฒนา ความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
Helping เป็นสัมพันธภาพที่พยาบาลมุ่งให้ความช่วยเหลือผู้รับบริการเป็นสำคัญ คือจะเป็นเพียงผู้ให้แต่ ไม่เป็นผู้รับ และไม่หวังผลตอบแทน
Process dynamic เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน มีการประเมินผลเป็นระยะ
Satisfaction gain ความพอใจของพยาบาลอยู่ที่ว่าผู้รับบริการได้รับการเรียนรู้และพัฒนาบุคลิกภาพ
Action-oriented การสร้างสัมพันธภาพจะนำปฏิกิริยาของผู้รับบริการมาเป็นแนววิเคราะห์
Terminated-relationship เป็นสร้างสัมพันธภาพที่มีการเริ่มต้นและการสิ้นสุด ภายหลังจากบรรลุ วัตถุประสงค์
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดมีดังนี้
เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้
เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าใจปัญหาของตนเองได้ตรงตามความเป็นจริง
เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
เพื่อให้ผู้รับบริการรู้จักตนเองอย่างถูกต้อง
ยอมรับตนเอง และเพิ่มความเคารพนับถือตนเอง
เพื่อให้โอกาสผู้รับบริการได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
ระยะของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ขั้นการสร้างปฏิสัมพันธ์ (Initiating phase)
ปัญหาที่พบบ่อย
ความวิตกกังวล อาจพบได้ทั้ง
ฝ่ายพยาบาลและฝ่ายผู้รับบริการ
เนื่องมาจากขาดประสบการณ์สัมพันธภาพเพื่อการบำบัด ยังเรียบ เรียงไม่ได้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร หรือดำเนินการอย่างไร ไม่แน่ใจว่าจะช่วยผู้รับบริการได้ กลัวผู้รับบริการไม่ยินดีที่จะ พูดคุยด้วย กลัวถูกผู้รับบริการทำร้าย
แนวทางแก้ไข
พยาบาล
เตรียมความรู้
ศึกษาเทคนิคสนทนาเพื่อการบำบัด
ตรวจสอบ ความรู้สึกตนเอง มีสติ รู้จักและเข้าใจตนเอง
วางแผนในการเตรียมสนทนาและเริ่มต้นการสนทนา
นำข้อมูลที่ได้ จากการสนทนาบำบัด
มาพิจารณาหรืออภิปรายร่วมกับทีมผู้ร่วมงาน
การพูดคุยกันระหว่างผู้ร่วมงาน
จะช่วยให้พยาบาลเกิดความมั่นใจมากขึ้น
ฝ่ายผู้รับบริการ
พยาบาลต้องมีท่าทางเป็นมิตร
แสดงความใส่ใจผู้รับบริการอย่างแท้จริง
สร้างความไว้วางใจ แก่ผู้รับบริการ
ระยะแก้ไขปัญหา (Working Phase)
ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางแก้ไข
ความวิตกกังวลของพยาบาล
พยาบาลต้องตระหนักและรู้จักตนเองขณะสนทนา ใช้ความรู้สึกร่วม (Empathy) ให้เกิด ประโยชน์ และแยกความแตกต่างระหว่าง
ความรู้สึกร่วม และความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ (Sympathy)
การวินิจฉัยปัญหาที่แท้จริงไม่ได้
พยาบาลควรหมั่นหาความรู้เพิ่มเติม รวมทั้งการประชุม
ปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ผู้รับบริการชื่นชอบหรือรักใคร่ในตัวพยาบาล
พยาบาลจำเป็นที่จะต้องระมัดระวังในเรื่องกิริยามารยาท
พยาบาลควรได้ทบทวนจุดมุ่งหมายใน
การสร้างสัมพันธภาพให้ผู้รับบริการเข้าใจ
ไม่ควรบอกที่ พักอาศัย หรือการติดต่อกับผู้รับบริการ
ความรู้สึกพึ่งพา
พยาบาลสนับสนุนให้ผู้รับบริการพึ่งพาตนเอง เลือกทางออกในการ
แก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง โดยพยาบาลมีหน้าที่กระตุ้นและสนับสนุน
ระยะยุติสัมพันธภาพ (Terminating Phase)
การยุติสัมพันธภาพ เป็นขั้นตอนสำคัญของสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด สัมพันธภาพมีการเริ่มต้นและสิ้นสุด เมื่อถึงกำหนดระยะเวลาตามที่ตกลงกันมาถึง ก่อนถึงวันยุติสัมพันธภาพ จะต้องมีการเตรียมยุติสนทนาเพื่อการบำบัด
ปฏิกิริยาที่อาจพบในระยะยุติสัมพันธภาพของผู้รับบริการ
ข. แสดงพฤติกรรมโกรธ
ค. แสดงพฤติกรรมการยอมรับ
ก. แสดงพฤติกรรมถดถอย
ขั้นเตรียมการสร้างปฏิสัมพันธ์ (Pre Initiating phase)
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ในระยะปฏิสัมพันธ์
ความรู้สึกกลัวและวิตกกังวลต่อการสร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการ
พยาบาลจะกลัวถูกผู้รับบริการทำร้าย กลัวถูกปฏิเสธการสนทนา
วิตกกังวลไม่รู้จะสร้าง สัมพันธภาพอย่างไร
กลัวพูดกับผู้รับบริการไม่รู้เรื่อง
วิตกกังวลเกี่ยวกับการใช้เทคนิคในการสนทนา
กลัวไปทำร้ายจิตใจผู้รับบริการ
แนวทางแก้ไข
พยาบาลต้องสำรวจตนเองว่ากลัวอะไร
ความกลัวหรือวิตกกังวลนี้มาจากไหน มีอะไรที่ เกี่ยวข้อง
ขอคำชี้แนะจากผู้นิเทศงาน
พูดคุยหรือปรึกษาพี่พยาบาลที่มีประสบการณ์มาก่อน
พัฒนาตนเองเตรียมตัวด้านความรู้และ เทคนิคสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
องค์ประกอบของการสนทนาเพื่อการบำบัด
สถานที่สนทนากับผู้ใช้บริการ (Setting) สถานที่ที่เงียบสงบ
มีสัดส่วนเป็นส่วนตัว (Privacy)
การจัดท่านั่ง (Seating Arrangement)
การจัดท่านั่งสนทนา พยาบาลควรตระหนักในขอบเขตส่วนบุคคล
ของทั้งผู้ใช้บริการและตัวพยาบาลเอง พยาบาลและผู้ใช้บริการนั่งเยื้องกันเล็กน้อยในลักษณะเป็นมุม เท่ากับหรือมากกว่า 90 องศา
เวลาในการสนทนา : 30-60 นาที
3.3 เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด
เทคนิคที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้รับบริการ
หรือผู้มาขอความช่วยเหลือรู้สึกว่าตนเองมีค่า
Giving Information การให้ข้อมูลข่าวสาร
ข้อเท็จจริงแก่ผู้รับบริการ
Offering - Self การเสนอตนเองเพื่ออยู่เป็นเพื่อนผู้รับบริการยามทุกข์ การเสนอตนเองเพื่อการรับฟัง ปัญหาของผู้รับบริการ
Giving Recognition การให้ความสำคัญ
เทคนิคในการกระตุ้นให้ผู้รับบริการเป็นฝ่ายนำการสนทนา หรือทำให้การสนทนาดำเนินไป
Reflection การสะท้อนความรู้สึก
Restating การทวนความ
Accepting การยอมรับผู้รับบริการ และสิ่งที่ผู้รับบริการพูด
Using General Lead การใช้คำกล่าวนำโดยทั่วไป
เป็นคำกล่าวนำที่ช่วยกระตุ้นและจูงใจให้ ผู้รับบริการพูดต่อ
Using Broad Opening ใช้คำกล่าวกว้างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการเลือกหัวข้อสนทนา
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นผู้รับบริการให้ผู้รับบริการพูดระบายความรู้สึก
Questioning การถาม เป็นคำถามโดยตรงที่พูดกับผู้รับบริการ
Actively Listening การฟังอย่างตั้งใจเป็นการฟังโดยไม่มีความคิดโต้แย้ง
Acknowledge the Patient’s Feeling
รับรู้ความรู้สึกของผู้รับบริการ
Using Silence การเงียบ ไม่มีการตอบสนองหลังจากผู้รับบริการพูดเสร็จ
Sharing Observation คือ การบอกกล่าวสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นได้ในตัวผู้รับบริการ
เทคนิคที่ช่วยให้พยาบาล
มีความเข้าใจตรงกันกับผู้รับบริการ
Clarifying การให้ความกระจ่าง คือ
ความพยายามในการที่จะเข้าใจในคำกล่าวของผู้รับบริการ
Validating คือ การตรวจสอบว่าความเข้าใจของพยาบาลถูกต้องตรงกับความต้องการความรู้สึกของ ผู้รับบริการหรือไม่
เทคนิคที่กระตุ้นให้ผู้รับบริการคิดไตร่ตรองเรื่องราวของเขาใหม่
Giving Suggestion การให้คำแนะนำ
Presenting Reality การบอกสภาพ
ความเป็นจริงเพื่อให้ผู้รับบริการพิจารณาให้ชัดเจน
Voicing Doubt การตั้งข้อสงสัย
หรือแสดงความสงสัยในสิ่งที่ผู้รับบริการเล่า
Summarizing การสรุปข้อความเมื่อผู้รับบริการพูดจบแล้ว
Giving Feedback การให้ข้อมูลย้อนกลับ
Encouraging Evaluation การกระตุ้นให้ผู้รับบริการได้ประเมินตัวเอง
Focusing เป็นการมุ่งประเด็นไปที่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ในกรณีผู้รับบริการพูดหลายเรื่องปะปนกัน
Exploring การสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูลกระจ่างขึ้น