Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star: ดาวฤกษ์ STARS :sunny:, image, image, image, image, image,…
:star: ดาวฤกษ์ STARS :sunny:
สมบัติของดาวฤกษ์
สี อุณหภูมิพื้นผิวและชนิดของสเปกตรัมของดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์แต่ละดวงจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไปไม่ว่าจะเป็นสี อุณหภูมิพื้นผิว และชนิดของสเปกตรัมของดาวฟกษ์ โดยแต่ละคุณสมบัติก็จะมีความสัมพันธ์กัน
F
ขาวแกมเหลือง
6000 K - 7500 K
ตัวอย่าง
ดาวโพรซิออนในกลุ่มดาวสุนัขเล็ก (canis minor)
G
เหลือง
4900 K - 6000 K
ตัวอย่าง
ดวงอาทิตย์ ดาวคาเพลลาในกลุ่มดาวเสถี (Auriga)
A
ขาว
7500 K-10000 K
ตัวอย่าง
ดาวหางหงส์ (Deneb) กลุ่มดาวหงส์ (Cygnus)
K
ส้ม
3500 K - 4900 K
ตัวอย่าง
ดาวดวงแก้วในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์
B
นำ้เงินแกมขาว
10000 K- 30000 K
ตัวอย่าง
ดาวรวงข้าว ในกลุ่มดาวหญิงสาว
M
แดง
2500 K- 3500 K
ตัวอย่าง
ดาวปารชาตในกลุ่มดาวแมงป่อง
O
น้ำเงิน
มากกว่า 30000 K
ตัวอย่าง
ดาวอัลนีแทค ในกลุ่มดาวนายพราน
ความส่องสว่าง และโชติมาตรของดาวฤกษ์
โชติมาตร (Magnitude)
โชติมาตรปรากฏ (Apparent Magnitude)
"โชติมาตรปรากฏ" (Apparent magnitude)
ซึ่งหมายถึงการจัดอันดับความสว่างของดาวบนท้องฟ้าซึ่งมองเห็นจากโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างโชติมาตรปรากฎ และความสว่างปรากฏ
1
2.512
2
(2.512)^2
3
(2.512)^3
4
(2.512)^4
5
(2.512)^5
10
(2.512)^6
15
(2.512)^7
20
(2.512)^8
โชติมาตรสัมบูรณ์ (Absolute Magnitude)
ในการศึกษาทางดาราศาสตร์ต้องการเปรียบเทียบพลังงานที่แท้จริงของดาวฤกษ์แต่ละดวงจึงใช้ค่า
"โชติมาตรสัมบูรณ์" (Absolute Magnitude)
เป็นพลังงานที่ดาวฤกษ์ปลดปล่อยออกมาต่อหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นวัตต์/ตารางเมตร แต่เนื่องจากดวงตาของมนุษย์ไม่มีความละเอียดพอที่จะจำแนกพลังงานในระดับนี้ได้ นักดาราศาสตร์จึงกำหนดค่าเปรียบเทียบอันดับความสว่างของดาวซึ่งเรียกว่า
"โชติมาตร" (Magnitude)
ความส่องสว่าง (Brightness)
ความส่องสว่าง Brightness : B
ความส่องสว่าง(brightness)
ของดาวฤกษ์ เป็นพลังงานจากดาวฤกษ์ที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา 1 วินาทีต่อหน่วยพื้นที่ มีหน่วยเป็นวัตต์ต่อตารางเมตร ค่าการเปรียบเทียบความสว่างของดาวฤกษ์ เรียกว่า อันดับความสว่าง หรือ แมกนิจูด(magnitude) ดาวที่มีค่าโชติมาตรต่างกัน 1 จะมีความสว่างต่างกัน 2.512เท่า ดาวที่มีค่าโชติมาตรน้อยจะมีความสว่างมากกว่าดาวที่มีค่าโชติมาตรมาก
ความสว่าง (brightness)
ของดาวฤกษ์เป็นพลังงานแสงจากดาวฤกษ์ดวงนั้นใน 1 วินาทีต่อ 1 หน่วยพื้นที่ ความสว่างของดาวฤกษ์จะบอกในรูปของอันดับความสว่าง (magnitude) ซึ่งไม่มีหน่วยอันดับความสว่าง เป็นเพียงตัวเลขที่กำหนดขึ้นเพื่อแสดงการรับรู้ความสว่างของผู้สังเกตดาวฤกษ์ด้วยตาเปล่า ดาวที่มีความสว่างมาก อันดับความสว่างยิ่งน้อย ส่วนดาวที่มีความสว่างน้อย อันดับความสว่างจะมีค่ามาก โดยกำหนดว่าดังนี้
กำลังส่องสว่าง Luminosity : L
กำลังส่องสว่าง (luminosity)
พลังงานของดาวฤกษ์ที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา 1 วินาที ซึ่ขึ้นอยู่กับขนาดและอุณหภูมิผิวดาวฤกษ์ มีหน่วยเป็น วัตต์ (W)
กำเนิดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์
กำเนิดดาวฤกษ์
ภายหลังการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่ของบิกแบง ทำให้สสารต่าง ๆ กระจายไปทั่วเอกภพ ซึ่งกลุ่มหนึ่งคือฝุ่นแก๊สของอนุภาคเรียกว่า
"เนบิวลา"
ด้วยอุณหภูมิที่สูงมาก และผลจากแรงดึงดูดระหว่างมวล ทำให้กลุ่มแก๊สอนุภาคเนบิวลามารวมตัวกันเกิดเป็น
"ดาวฤกษ์ก่อนเกิด (protostar)"
ภายหลังดาวฤกษ์ก่อนเกิดมีการยุบตัวด้วยแรงโน้มถ่วง ทำให้แกนดาวมีความหนาแน่นและแรงโน้มถ่วงสูงขึ้น ทำให้เกิด
"ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ (Thermonuclear Reaction)"
หรือการเกิดฟิวชันและมวลบางส่วนถูกแผ่ออกมาเป็นพลังงาน
หลังจากนั้นสมดุลระหว่างแรงดันเนื้องจากปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์และแรงโน้มถ่วง ทำให้ดาวฤกษ์มีรูปทรงเป็นทรงกลม เรียกสมดุลนี้ว่า
"สมดุลอุทกสถิต (Hydrostatic Equilibrium)"
วิวัฒนาการของดาวกษ์
ขึ้นอยู่กับมวลก่อนเกิดของดาวฤกษ์
เปรียบเทียบมวลกับดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ แบ่งได้ 3 ประเภท
มวลมากกว่า 25 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
ดาวฤกษ์ก่อนเกิดประเภทนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์เป็น
ดาวยักษ์ใหณ่สีน้ำเงิน
ได้
ดาวยักษ์ใหญ่สีน้ำเงิน
เมื่อมีการใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมดจะเริ่มเผาผลาญธาตุที่หนักขึ้นตามลำดับ ได้แก่ ฮีเลียม คาร์บอน นีออน แมกนีเซียม ออกซิเจน และเหล็ก จากนั้นแก่นของดาวจะยุบตัวลงพร้อมกับการระเบิด
ซูเปอร์โนวา
ซูเปอร์โนวา
แกนของดาวฤกษ์จะเกิดการยุบตัวกลายเป็นวัตถุมวลยิ่งยวดเรียกว่า
หลุมดำ
ซึ่งแม้แต่แสงก็ไม่สามารถหลุดรอดไปได้
หลุมดำ
ดาวฤกษ์ประเภทนี้ เมื่อใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมดจะเริ่มเผาผลาญธาตุที่หนักขึ้นตามลำดับ ได้แก่ ฮีเลียม คาร์บอน นีออน แมกนีเซียม ออกซิเจน และเหล็ก จากนั้นแก่นของดาวจะยุบตัวลงพร้อมกับการระเบิด ซูเปอร์โนวา กลายเป็นวัตถุมวลยิ่งยวดเรียกว่า หลุมดำ ซึ่งแม้แต่แสงก็ไม่สามารถหลุดรอดไปได้
มวลมากกว่า 9 เท่าแต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 25 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
ดาวฤกษ์ก่อนเกิดประเภทนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์เป็น
ดาวยักษ์ใหณ่สีน้ำเงิน
ได้
ดาวยักษ์ใหญ่สีน้ำเงิน
เมื่อดาวฤกษ์ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนจนหมด ดาวฤกษ์จะขยายขนาดขึ้นและอุณหภูมิพื้นผิวจะลดลงจนเปลี่ยนจากดาวยักษ์ใหญ่สีน้ำเงินไปเป็น
ดาวยักษ์แดง
ดาวยักษ์แดง
จากนั้นแก่นของดาวจะยุบตัวลงพร้อมกับเกิดการระเบิดที่เรียกว่า
ซูเปอร์โนวา
ซูเปอร์โนวา
1 more item...
แต่ดาวฤกษ์บางดวงอาจจะเปลี่ยนจาก
ดาวยักษ์แดงเป็น
ดาวยักษ์ใหญ่สีนำ้เงิน
ก่อน
ดาวยักษ์สีน้ำเงิน
1 more item...
ดาวฤกษ์ประเภทนี้มีสีน้ำเงิน เมื่อดาวฤกษ์ใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนหมด ดาวฤกษ์จะขยายขนาดขึ้นพร้อมทั้งอุณหภูมิที่ผิวจะลดลงเปลี่ยนจากดาวฤกษ์ยักษ์สีน้ำเงินไปเป็นดาวยักษ์แดง จากนั้นแก่นของดาวจะยุบตัวลงพร้อมกับการระเบิดที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา แต่ดาวฤกษ์บางดวงอาจจะเปลี่ยนจากดาวยักษ์แดงเป็นดาวยักษ์ใหญ่สีน้ำเงินก่อน จากนั้นแกนจึงยุบ และเกิดการระเบิดขึ้น สุดท้ายแล้วแก่นของดาวจะยุบตัวเป็นดาวนิวตรอน
มวลมากกว่า 0.08 เท่าแต่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 9 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
ดาวฤกษ์ก่อนเกิดประเภทนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์เป็น
ดาวฤกษ์สีเหลือง
ได้ มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์
ดาวฤกษ์สีเหลือง
เมื่อมีการใช้ไฮโดรเจนที่แก่นจนเกือบหมด ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ที่แก่นจะลดลงทำให้ดาวฤกษ์ขยายตัว อุณหภูมิพื้นผิวลดลง สีของดาวจึงเปลี่ยนเป็นสีแดง เรียกว่า
ดาวยักษ์แดง
ดาวยักษ์แดง
ภายหลังเมื่อปฏิกิริยาหลอมฮีเลียมสิ้นสุดลง แก่นของดาวยักษ์แดงจะยุบตัวกลายเป็น
ดาวแคระขาว
ส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ได้ยุบ จะกระจายตัวออกสู่อวกาศ
ดาวแคระขาว
ดาวฤกษ์ก่อนเกิดประเภทนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์เป็นดาวฤกษ์ได้ และเมื่อมีการใช้ไฮโดรเจนที่แก่นจนเกือบหมด ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ที่แก่นจะลดลงทำให้ดาวฤกษ์ขยายตัว อุณหภูมิพื้นผิวลดลง สีของดาวจึงเปลี่ยนเป็นสีแดง ภายหลังเมื่อปฏิกิริยาหลอมฮีเลียมสิ้นสุดลง แก่นของดาวยักษ์แดงจะยุบตัวกลายเป็น ดาวแคระขาว ส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ได้ยุบ จะกระจายตัวออกสู่อวกาศ
ความแตกต่างของโชติมาตรปรากฏ
อัตราส่วนของความสว่างปรากฏ
สีพื้นผิว
ชนิดสเปกตรัม
อุณหภูมิโดยประมาณของพื้นผิว (K)