Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาทางจิตเวช - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาทางจิตเวช
หลักการใช้ยาทางจิตเวชอย่างสมเหตุสมผล
Right dose คือ ใช้ยาในขนาดที่เหมาะสม
Right time and duration คือ ใช้ยาให้ถูกมื้อโดยยาทีทำให้ง่วง ควรให้เป็นมื้อก่อนนอนส่วนยาทีทำให้นอนไม่หลับ
Right drug คือ เลือกใช้ยาให้ถูกชนิดและเหมาะสมกับอาการของผู้ป่วย
Right route of administration คือ เลือกวิธีบริหารยาที่เหมาะสม
Right diagnosis คือ เลือกใช้ยาให้ตรงกับอาการและการวินิจฉัย
Right choice for patients and preference คือ ใช้ยาให้ตรงกับความพึงพอใจของผู้ป่วย
ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizing drugs)
Lithium carbonate
Late side effects
อาการข้างเคียง :อาการมือสั่นยังคงมีอยู่
กระหายน้ าและปัสสาวะบ่อย บวมและมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ไตผิดปกติ
การพยาบาล :
ช่วยเหลือแบบประคับประคอง ช่วยให้ผู้ป่วยใช้ยาได้อย่างต่อเนื่องง โดยตรวจระดับ serum lithium อย่างสม่ำเสมอทุก 2 สัปดาห์ ถ้ามีอาการรุนแรงควรรายงานแพทย์ รปรับเปลี่ยนปริมาณยา
ผลข้างเคียง
Early side effects
อาการข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง ท้องเสีย ปากแห้ง
กระหายนำ้ ปัสสาวะบ่อย
การพยาบาล : อาการเหล่านี้พบได้เป็นปกติแต่มักไม่รุนแรง ควรให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าไม่มีอันตรายใดๆ
serum lithium
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ ท้องเสียเล็กน้อย
ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ พูดไม่ชัด กล้ามเนื้ออ่อนแรง ตาพร่ามัว หูอื้อ การทำงานของหัวใจผิดปกติ เป็นลม
หมดสติหรือเสียชีวิต
การพยาบาล :
ซักประวัติผู้ป่วยถึงการเป็นโรคประจำตัวต่างๆ
ติดตามระดับ serum lithium ผู้ป่วยจะต้องตรวจสัปดาห์
ละ 1-2 ครั้ง ใน 4 สัปดาห์ หลังจากนั้นตรวจทุก 1-2 เดือน
ในครึ่งปีแรกและทุก 3-6 เดือน ตลอดการใช้ยา
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติว่า การรับประทานยา lithium ต้องใช้เวลา 1-2 สัปดาห์ยาจึงออกฤทธิ์
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันที
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง ถ้าลืมให้รับประทานยาทันทีที่นึกได้
ผู้ป่วยที่มีอาการปากแห้ง คอแห้ง ให้จิบน้ำบ่อยๆ อมน้ำแข็ง
ผู้ป่วยที่มีอาการง่วงซึม เวียน ปวดศีรษะ ควรจัดให้ผู้ป่วยพักผ่อน
ให้ผู้ป่วยรักษาภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่
สังเกตอาการ mania และอารมณ์ที่ขึ้นๆ ลงๆ
แนะนำอาการข้างเคียงอาการเป็นพิษของยาให้ผู้ป่วยและญาติทราบ
ยาคลายกังวล (Antianxiety drugs/Minor tranquillizers)
ผลข้างเคียง
ง่วงนอน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ สับสน มึนงง
แขนขาไม่แรง เดินเซ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย
หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนให้
ยา แต่จำเหตุการณ์ในอดีตได้
ให้เกิดอาการดื้อยา หากใช้เป็นระยะเวลานาน
สับสน ตื่นเต้น ก้าวร้าว (Paradoxical
excitement)
การพยาบาล
ถ้าเป็นผู้ป่วยใน สังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น ง่วงซึม เวียนศีรษะ สับสน มึนงง เดินเซ คลื่นไส้
สังเกตผลข้างเคียงของยาที่เกิดขึ้น เช่น อาการง่วงนอนมาก ความดันโลหิตต่e ปวดตรงตำแหน่งที่ฉีดยา ผิวหนังเป็นผื่น
ถ้าให้ยาคลายความวิตกกังวลวันละครั้ง ควรจัดให้ผู้ป่วยรับประทานก่อนนอน
ถ้าให้เป็นยาฉีด ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้ลึก และค่อยๆ เดินยาอย่างช้าๆ
ถ้าลืมรับประทานยา ให้รับประทานทันทีที่นึกได้ ไม่ควรรับประทานยาเป็น 2 เท่า ในแต่ละมื้อ
แนะนำหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ ยาแก้แพ้หรือแก้หวัดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมาก
แนะนำรับประทานผัก ผลไม้ ดื่มน้ าให้เพียงพอ
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs/Major tranquillizers)
Extrapyramidal
Symptoms (EPS)
ผลข้างเคียง/การพยาบาล
Akathisia : ระวังการเกิดอุบัติเหตุ และการรบกวนผู้อื่น คอยดูแลการรับประทานอาหาร
Tardive dyskinesia : ให้อาหารที่มีแคลอรี่สูง อาหารอ่อน พักผ่อนให้เพียงพอ แนะนำผู้ป่วยให้พูดช้าๆ
Acute dystonia : อาการเหล่านี้จะเกิดได้ในระยะแรกที่ได้รับยา และร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวได้
Parkinsonism : อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการเหล่านี้จะเกิดได้ในระยะแรกที่ได้รับยา จะหายไปได้เมื่อใช้ยาแก้แพ้
อาการข้างเคียงของยา
ทำให้เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ อยู่นิ่งไม่ได้ เคลื่อนไหวตลอดเวลา เดินตัวแข็งทื่อ มือสั่น
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
Typical antipsychotic drugs
หรือ Dopamine antagonists (DA)
Atypical antipsychotic drugs
หรือ Serotonindopamine antagonists (SDA)
Neuroleptic malignant syndrome
(NMS)
อาการสำคัญ มีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็งอย่างรุนแรง ไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว
การพยาบาล : คอยสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ถ้าพบรีบรายงานแพทย์ทราบเพื่อให้การช่วยเหลือ
Anticholinergic side effects
อาการสำคัญ ปากแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะลำบาก ท้องผูก
การพยาบาล : อมนำ้แข็งหรือจิบนำ้บ่อยๆ ไม่ควรขับรถจนกว่าอาการตาพร่าจะดีขึ้น จดบันทึกนำ้ดื่มและปัสสาวะเพื่อดูความสมดุล แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใยมากๆ
ยารักษาอาการซึมเศร้า(Antidepressant drugs)
Tricyclic Antidepressants (TCAs)
ผลข้างเคียง
Anticholinergic effects - Central nervous system effects - Cardiovascular effects
Sexual side effects
Weight gain
Antihistamine effects
การพยาบาล
ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยว่าอาการจะหายไป
หลังจากได้รับยา 2-3 สัปดาห์
ระมัดระวังอุบัติเหตุ เพราะผู้ป่วยมีการทรงตัวไม่ดี
แนะนำผู้ป่วยให้ลุกขึ้นอย่างช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่ง
แนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
ผลข้างเคียง
ผลต่อสมอง มึนงง ง่วงนอน นอนไม่หลับ นำ้หนักลด ความต้องการทางเพศลดลง คลื่นไส้ อาเจียน โลหิตไม่สม่ำเสมอ เดินเซ สับสน
การพยาบาล
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาในตอนเช้า หลีกเลี่ยงอาหารและเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน สอนเทคนิคคลายเครียดให้ผู้ป่วยใช้ก่อนนอน
ให้รับประทานอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ให้ผู้ป่วยพูดถึงความรู้สึกทางเพศลดลง รายงานแพทย์ทราบ
เกิด Serotonin syndrome หยุดให้ยาทันที รายงานแพทย์ทราบ
Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
ผลข้างเคียง
Cardiovascular effects
Sexual side effect
Sedative and weight gain
Hypertensive crisis
Precipitation of mania
การพยาบาล
ก่อนใช้ยาต้องตรวจหัวใจอย่างถี่ถ้วน และระหว่างใช้ยาต้องตรวจวัดความดันโลหิตสม่าเสมอ รายงานแพทย์เพื่อเปลี่ยนยาและแพทย์เพื่อลดปริมาณยาและควบคุมนำ้หนัก ควบคุมอาหารที่มี tyramine ประเมินสภาพอารมณ์ของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ
New Generation
ผลข้างเคียง
โรคซึมเศร้า มีปัญหาการนอน
หน้ามืดเมื่อลุกช่วงแรก ง่วงซึม ปวดศีรษะ ง่วงซึม
ปากแห้ง ง่วงซึม เจริญอาหาร นำ้หนักเพิ่ม
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่ายาจะให้ผลในการรักษา อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าแพทย์จะแบ่งยาให้รับประทานเป็นหลายมื้อ ตรวจสัญญาณชีพอย่างสม่ำเสมอ เพื่อประเมินภาวะความดันโลหิตต่ำ ให้รับประทานอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ำมากๆ เพื่อป้องกันท้องผูก ให้หลีกเลี่ยงการทำงานกับเครื่องจักรกล การขับรถ ให้ความรู้เรื่องการควบคุมน้ำหนักและชั่งน้ำหนักผู้ป่วย
ยาลดอาการข้างเคียงของยารักษาโรคจิต (Anticholinergic drugs/Antiparkinson
drugs)
อาการข้างเคียง : parkinsonism เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวผิดปกติ คือ
กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง (Rigidity) ไม่มีแรงเคลื่อนไหว (Akinesia)และมือสั่น (Tremor) การเคลื่อนไหวช้า
แขนขาสั่น มักเกิดใน 4 สัปดาห์แรกของการรักษา
การพยาบาล :
1) ให้ผู้ป่วยรับประทานยาพร้อมอาหารหรือ
หลังอาหารทันทีเพื่อป้องกันการ
2) ให้ดื่มน้ำ จิบน้ำบ่อยๆ อมลูกกวาด อมน้ำแข็ง
เพื่อลดอาการปากแห้ง
3) ให้รับประทานอาหารที่มีกากใย
และเพิ่มกิจกรรมในรายที่มีอาการท้องผูก
4) ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพและความสมดุลของน้ำ
5) ตรวจวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ และแนะนำให้เปลี่ยนอิริยาบถอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันอาการหน้ามืด
6) อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการต่างๆ เป็นผลข้างเคียงของยาเพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล
7) ถ้าลืมรับประทานยา แนะนำให้รับประทานยาทันทีเมื่อนึกได้ แต่ให้ห่างจากมื้อต่อไป 2 ชั่วโมง
8) ระวังอุบัติเหตุ ให้ผู้ป่วยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสายตาในรายที่มีอาการตาพร่าและง่วงซึม อ่อนเพลีย แนะนำไม่ให้ขับรถยนต์
หรือใช้ของมีคม
อ้างอิง : อาจารย์จิราพร รักการ.(2562).บทบาทพยาบาลกับการรักษาด้วยยาทางจิตเวช.วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2564 แหล่งที่มา :
http://www.elnurse.ssru.ac.th
ผู้จัดทำ :
นางสาวสมปราถนา สุดวิสัย เลขที่ 71
ห้อง B ชั้นปีที่ 3