Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน - Coggle Diagram
กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
วัตถุประสงค์ของรายงานทางการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป
งบการเงินที่กิจการจัดทำขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย ของกิจการ ซึ่งแสดงถึงทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ ของกิจการ สิทธิเรียกร้องต่อกิจการ และการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจและสิทธิ เรียกร้อง ข้อมูลดังกล่าวมีประโยชน์ต่อผู้ลงทุน ผู้ให้กู้ยืม หรือเจ้าหนี้อื่น เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ เรื่องต่อไปนี้
การใช้บการเงินเพื่อพิจารณาให้หนือชำระเงินกู้และสินเชื่อในรูปแบบอื่น
การใช้สิทธิออกเสียงหรือมีอิทธิพลต่ออการกำหนดนโยบายดำเนินารของฝ่ายนบริหารที่ส่งผลกระทบ ต่อการใช้ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจของกิจการ
การใช้ข้อมูลในงบการเงินเพื่อการซื้อ ขาย หรือถือตราสารทุนและตราสารหนี้
ผู้ใช้งบการเงิน
ผู้ใช้หลัก
1.ผู้ลงทุน ประเมินความเสี่ยงในการตัดสินใจลงทุนเพื่อการซื้อ ขาย หรือถือตราสารทุน และตราสารหนี้ พิจารณาการใช้สิทธิออกเสียงในกิจการที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงาน
3.เจ้าหนี้ปัจจุบัน ประเมินความเสี่ยงในการตัดสินใจให้สินเชื่่อทางการค้า และสินเชื่อทางการเงิน และที่เป็นไปได้ อื่นๆ ในปัจจุบันและในอนาคต
2.ผู้ให้กู้ยืม ประเมินความเสี่ยในการตัดสินใจห้กู้เงิน หรือให้สินเรื่องทางการค้า และสินเชื่อทางการเงิน รวมถึงความสามารถในการชำระหนี้ ใช้ในการกระบวนการติดตามสินเชื่อ
ลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์
ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน
( Fundamentel Qualitative )
ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevance)
คุณค่าในการยืนยัน
ความมัสาระสำคัญ
คุณค่าในการพยากรณ์
ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
(Faith Representation)
ความเป็นกลาง
ปราศจากข้อผิดพลาด
ความครบถ้วน
ลักษณะเชิงคุณภาพเสริม
(Enhancing Qualitative)
ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้
ความทันเวลา
ความสามารถเปรียบเทียบกันได้
ความสามารถเข้าใจได้
งบการเงินและกิจการที่เสนอรายงาน
งบการเงิน (Financial Statements)
เป็นการรายงานเงินที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากร เชิงเศรษฐกิจ สิทธิเรียกร้องและการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรเงิชเศรษฐกิจและสิทธิเรียกร้องของกิจการที่นำเสนองบการเงินนั้น ซึ่งงบการเงินที่กิจการนำเสนอจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะกานเงิน ผลการดำเนินงาน และข้อมูลอื่นๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทั่วไป
ข้อมูลทีมีประโยชน์ต่อผู้ใช้งบการเงิน
งบการเงินที่แสดงเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน
รายได้
ค่าใช้จ่าย
งบการเงินที่แสดงเกี่ยวกับข้อมูลอื่น
กระแสเงินสด
ข้อสมมติและประมาณการต่างๆ
ข้อมูลประกอบ
งบการเงินที่แสดงเกี่ยวกับฐานะการเงิน
หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ
สินทรัพย์
กิจการที่นำเสนอรายงาน
มีกิจการมากกว่า 1 กิจการ = งบการเงินรวมเป็นเงินที่ให้ข้อมูลของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย
มีกิจการเดียว (เป็นบริษัทใหญ่) = งบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งข้อมูลเฉพาะกิจการใดกิจการหนึ่ง
มีกิจการมากกว่า 1 กิจการ = งบการเงินแบบรวมรายการ
องค์ประกอบของงบการเงิน
ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน
สินทรัพย์
ทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ
หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ
สิทธิเรียกร้องต่อกิจการ
ข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน
รายได้ ค่าใ้ช้้จ่าย
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร เชิงเศรษฐกิจและสิทธิเรียกร้องของกิจการ
เกณฑ์การรับรู้รายการ
ความน่าจะเป็นอยู่ในระดับต่ำของกระแสรับหรือจ่ายประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
ความไม่แน่นอน
ความไม่แน่นอนของการวัดมูลค่า
ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
ปัจจัยอื่น
การตัดรายการบัญชี
คือ การจัดสินทรัพย์หรือหนี้สินที่รับรู้ทั้งหมด หรือบางส่วน ออกจากงบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ หนี้สินส่วนของเจ้าของ กรอบแนวความคิดได้ให้แนวทางการตัดรายการบัญชี โดยให้พิจารณาจากคำนิยามม เช่น กิจการตัดรายการบัญชีสินทรัพย์เมื่อกิจการไม่มีการควบคุมสินทรัพย์ ที่เคยรับรู้ไว้ตามมคำนิยาม หรือกิจการตัดรายการบัญชีหนี้สินเมื่่อกิจกาารไม่มีภาระผูกพันนันเป็นต้น
การวัดข้อมูล
การวัดข้อมูล
คือ กระบวนการเลือกเกณฑ์การวัดข้อมูลค่าใช้ระบุจำนวนเงินเชิงปริมาณของรายการบัญชีที่รับรู้ในงบการเงิน
เกณฑ์การวัดข้อมูลค่า
ราคาทุนในอดีต
มูลค่า ณ ปัจจุบัน
มูลค่ายุติธรรม
มูลค่าจากการใช้
ต้นทุนปัจจุบัน
การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล
หมายถึง กิจการนำเสนองบการเงินเพื่อเป็นการสื่อสารข้อมูลทางการเงินของกิจการ งบการเงินจะแสดงรายการ และเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หนี้สิน ส่วนของเจ้าของรายได้และค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ งบการเงินจะมีประโยชน์ต่อผู้ใช้เมื่องบการเงินให้ข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม รวมทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจข้อมูลในงบการเงิน และสามารถเปรียบเทียบกันได้
วัตถุประสงค์และหลักการของการแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล กรอบแนวคิดอธิบายว่าการสื่อสารข้อมูลในงบการเงินมีประสิทธิผลเมื่อมีสถานการณ์ดังนี้
2.ข้อมูลที่สามารถเปรียบเทียบกันได้ระหว่างงวดบัญชีของกิจการเดียวกัน และในงวดบัญชีเดียวกันระหว่างกิจการ
1.ข้อมูลมีความสมดุลระหว่างการเป็นตัวแทนอันอันเที่ยงธรรมและเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
การจัดประเภทรายการ
คือเป็นการเรียงรายการขององค์ประกอบในงบการเงิน ได้แก่ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย โดยใช้เกณฑ์ของลักษณะที่ร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดง รายการและการเปิดเผยข้อมูล
1.การจัดประเภทสินทรัพย์และหนี้สิน
2.การหักลบ
3.การจัดประเภทส่วนของเจ้าของ
4.การจัดประเภทรายได้และค่าใช้จ่าย
5.การรวมยอด
แนวคิดเรื่องทุนและการรักษาระดับทุน
การรักษาระดับทุน
ทุนทางการเงิน (Financial Concept od Capital)
ทุนทางกายภาพ (Physical Concept of Capital)
การวัดกำไร
ทุนทางการเงิน (Financial Concept od Capital)
สินทรัพย์สุทธิวันสิ้นงวด สูงกว่าสินทรัพย์สุทธิเมื่อวันต้นงวดเช่น กิจการมีมูลค่าของส่วนของเจ้าของ ณวันต้นงวดจำนวน 10 บาท ณ วันสิ้นงวดจำนวน 15 บาทกิจการมีกำไรเกิดขึ้น จำนวน 5 บาท
ทุนทางกายภาพ (Physical Concept of Capital)
กำลังการผลิตทางกายภาพหรือความสามารถในการดำเนินงานของกิจการหรือทรัพยากรเงินทุนที่จำเป็นในการบรรลุกำลังการผลิตเมื่อวันสิ้นงวด สูงกว่ากำลัง การผลิตทางกายภาพเมื่อวันต้นงวด
มาตรฐานการรายงานทางการเงินในประเทศไทย
สภาวิชาชีพบัญชีกำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards TFRS)
สำหรับกิจการในประเทศไทยโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1
มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ วิธีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน tfrs jialing มาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ IFRS มาตรฐานในกลุ่มนี้อาจเรียกว่ามาตรฐานชุดใหญ่
กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ Paes หมายถึงกิจการที่มีลักษณะหรือสภาพธุรกิจที่เข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อต่อไปนี้
1.กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ที่มีการซื้อขายต่อประชาชนในตลาดสาธารณะ
2.กิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สำนักงานคณะกรรมการ กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ก.ล.ต
3.กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้างเช่น สถาบัน
การเงิน บริษัทประกันชีวิต เป็นต้น
4.บริษัทมหาชนจำกัด ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด
5.กิจการอื่นที่จะกำหนดเพิ่มเติม ซึ่งในปัจจุบันยังไม่มีกำหนดกิจการอื่นเพิ่มเติม
กลุ่มที่ 2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ
กลุ่มที่ 2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 20/2554 ทั้งนี้กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) หมายถึงกิจการที่ไม่ใช่ PAEs ในกลุ่มที่ 1