Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบําบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช (PSYCHOPHARMACOLOGY), image, image, image,…
การบําบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช
(PSYCHOPHARMACOLOGY)
หลักการใช้ยาทางจิตเวชอย่างสมเหตุสมผล
ประกอบด้วย
Right diagnos
Right drug
Right dose
Right time and duration
Right route of administration
Right choice for patients and preference
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic Drugs/Major
Tranquillizers)
Typical antipsychotic drugs หรือ Dopamine
Antagonists (DA)
1.1 กลุ่ม Aliphatic Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative
สูง ง มีฤทธิ์ข้างเคียงทำให้ความดันโลหิตตํ่ามากกว่า
ยาชนิดอื่น ได้แก่ -Chlorpromazine (Largactil) 25 mg, 50 mg, 100
mg, 20
1.2 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative
ปานกลาง มี Extrapyramidal Symptoms น้อย แต่มี
ฤทธิ์ข้างเคียง Anticholinergic สูงกว่ายาอื่น ได้แก่ -Thioridazine (Melleril, Tidazine, Thiomed) 10 mg, 25 mg, 50 mg, 100 m
1.3 กลุ่ม Piperazine Phenothiazine มีฤทธิ์ Sedative
ต่างๆ แต่ Extrapyramidal Symptoms สูง ลดความคิด
หลงผิด และประสาทหลอนได้ดี ได่แก่ -Perphenazine (Trilafon, pernazine, Pernamed) 2 mg, 4 mg. 8
1.4 กลุ่ม Thiozanthenes ได้แก่ -Zuclopenthixol Acetate (Clopixol Acuphase) 50 mg/ml, 200 mg/
1.5 กลุ่ม Butyrophenone มี Potency สูง มีฤทธิ์
Sedative น้อยละมีExtrapyramidal Symptoms สูง
Atypical antipsychotic drugs หรือ
Serotonin-Dopamine Antagonists (SDA) เป็นยารักษาโรคจิตกลุ่มใหม่ มีการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงประเภท
Extrapyramidal Symptoms น้อยกว่ายากลุ่มเดิม แต่ราคาจะค่อนข้างสูงกว่า ยากลุ่มใหม่ ได้แก่ -Clozapine (Clozaril, Clopaze) 25 mg, 100
ผลข้างเคียง
Extrapyramidal Symptoms (EPS)
Parkinsonism การเคลื่อนไหวช้า (akinesia) เดินขาลากมีอาการสั่น (tremor)
• Acute dystonia มีอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ (muscle spasm)
• Akathisia กระวนกระวายกระสับกระส่ายอยู่นิ่งไม่ได้ผุดลุกผุดนั่งต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา
• Tardive dyskinesia เคลื่อนไหวซ้ำ ๆ ของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าลิ้นและลำคอผู้ป่วยอาจไม่รู้ตัว
Neuroleptic malignant syndrome (NMS) มีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็งอย่างรุนแรง ไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก ปัสสาวะออกน้อย
(3) Anticholinergic side effects จะทำให้มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติปากแห้งตาพร่าปัสสาวะลำบากท้องผูก
4) Adrenergic side effects มีความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ (orthostatic hypotension) ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะและหน้ามืด
(5) Endocrine effects ผู้หญิงมีการเพิ่มระดับ prolactin ซึ่งเป็นผลให้เต้านมคัดบางรายมีการหลั่งน้ำนม (lactation)
(6) Skin reaction อาจมีลมพิษหรือผิวหนังอักเสบเนื่องจากผิวหนังไวต่อแสงแดด
(7) Hepatic effects ทำให้เกิดดีซ่านได้ (8) Hematologic effects ทำให้มีจำนวนเม็ดเลือดขาวน้อยกว่าปกติ (agranulocytosis) ผู้ป่วยจะมีอาการติดเชื้อง่าย (เจ็บคอมีไข้)
(9) Effect on seizure threshold ผู้ป่วยจะมีอาการชักง่ายขึ้นในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคลมชัก
(10) Ocular effects การเปลี่ยนสีที่เลนส์ลูกตาและที่ retina ทำให้ตาพร่ามองเห็นไม่ชัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาโรคจิต
(1) เมื่อเกิดอาการ EPS อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าอาการเหล่านี้จะเกิดได้ในระยะแรกที่ได้รับยาเกิดขึ้นชั่วคราวเท่านั้นจะหายไปได้เมื่อใช้ยาแก้แพ้ (anticholinergic drugs / antiparkinson drugs) และร่างกายจะค่อย ๆ ปรับตัวได้อาการดังกล่าวจะไม่มีอันตรายกับผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
(2) ในรายที่มีอาการง่วงนอนตาพร่าระวังการเกิดอุบัติเหตุ
(3) ในรายที่ปากแห้งแนะนำให้อมน้ำแข็งจิบน้ำบ่อย ๆ
(4) ผู้ป่วยที่ท้องผูกแนะนำให้รับประทานอาหารที่มีกากใยดื่มน้ำให้มากขึ้นกระตุ้นให้ออกกำลังกาย
(5) ในรายที่มีความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนอริยบทแนะนำให้ลุกขึ้นอย่างช้า ๆ เมื่อเปลี่ยนท่า
(6) ผู้ป่วยหญิงที่มีน้ำนมไหลประจำเดือนผิดปกติป่วยชายนมโตขึ้นอสุจิหลังน้อยลงแนะนำว่าอาการเหล่านี้เกิดขึ้นชั่วคราว
(7) ผู้ป่วยที่มีผนบริเวณผิวหนังหรือมีความไวต่อแสงแนะนำให้หยุดยาชั่วคราวหรือใช้ยาแก้แพ้ใส่เสื้อแขนยาวเมื่อออกแดด
(8) รายงานแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีอาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็งอย่างรุนแรงมีไข้หัวใจเต้นเร็วเหงื่ออกมากปัสสาวะน้อยความดันโลหิตไม่สม่ำเสมอ
ยารักษาอาการซึมเศร้า (Antidepressant Drugs)
(1) Monoamine Oxidase Inhibitors (MAOIs)
ตัวอย่างยาที่ใช้ เช่น Isocarboxazid (Marphan) 10 mg, Phenelzine (Nardil) 15 mg, Tranylcypromine (Parnate) 10 mg แต่ปัจจุบันยากลุ่มนี้ไม่ค่อยเป็นที่นิยมใช้เพราะมีอาการข้างเคียงที่อันตราย
ผลข้างเคียง
-Cardio cular effects
-Sexual side effects
-Sedative and weight gain
-Hypertensive crisis
-Precipitation of mania
(2) Tricyclic Antidepressants (TCAs) ตัวอย่าง ยาที่ใช้ เช่น Amitriptyline (Tryptanol) Imipramine (Tofranil)
ผลข้างเคียง
-Anticholinergic effects
-Central nervous system effects
-Cardiovascular effects
-Sexual side effects
Weight gain
-Antihistamine effects
(3) Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIS) ตัวอย่างยาที่ใช้ Fluoxetine (Prozac, Flulox) Paroxetine (Paxil, Seroxat) Sertraline (Zoloft)
ผลข้างเคียง
ผลต่อสมองมีนงงง่วงนอนนอนไม่หลับ
•ปวดศีรษะ •น้ำหนักลด •ความต้องการทางเพศลดลงเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
• Serotonin syndrome เกิดจากการมี serotonin activity มากเกินไปทาให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียนท้องเสียปวดท้องความดันโลหิตไม่สม่าเสมอเดินเซสับสนกระวนกระวายอุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นหัวใจเต้นเร็วหมดสติ
4) New Generation ตัวอย่าง ยาที่ใช้เช่น Mianserin (Tolvon)
ผลข้างเคียง
ผลข้างเคียงหน้ามืดเมื่อลุกช่วงแรกง่วงซึมปวดศีรษะ
Tianeptine (Stabon) ผลข้างเคียง ปากแห้ง ท้องผูก ปวดศีรษะนอนไม่หลับ คลื่นไส้
Trazodone (Desirel) ผลข้างเคียง ง่วงซึม หน้ามืดเมื่อลุกเร็ว ปากแห้งคอแห้งท้องผูก
Mirtazapine (Remeron) ผลข้างเคียง ปากแห้ง ง่วงซึม เจริญอาหารน้ำหนักเพิ่ม
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยารักษาอาการซึมเศร้า
1) ระมัดระวังอุบัติเหตุ
(2) แนะนำผู้ป่วยให้ลุกขึ้นอย่างช้า ๆ จากท่านอนเป็นท่านังหรือท่านงเป็นท่ายืน
(3) แนะนำผู้ป่วยไม่ควรขับรถและทำงานควบคุมเครื่องจักรให้ระวังอุบัติเหตุ
(4) ผู้ป่วยที่น้ำหนักเพิ่มแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย
(5) ให้หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เหล้าเบียร์ไวน์เนื่องจากแอลกอฮอล์ทาให้ฤทธิ์ของยามีประสิทธิภาพลดลง
(6) อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบว่ายาจะให้ผลในการรักษาหลังจากรับประทานไปแล้ว 2-3 สัปดาห์เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเกิดความมั่นใจในการรักษาและผู้ป่วยรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
3.ยาคลายกังวล (Antianxiety drugs/rminor tranquillizers)
-Diazepam (Valium) ยามีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อสูงและลดความวิตกกังวล
-Alprazolam (Xanax) อาการวิตกกังวลร่วมกับอารมณ์เศร้า
-Lorazepam (Ativan) อาการวิตกกังวลร่วมกับอารมณ์เศร้าบรรเทาอาการวิตกกังวลในระยะสั้นรักษาอาการนอนไม่หลับ
-Midazolam (Dormicum) เป็นยาคลายกังวลที่มียานอนหลับ (sedative hypnotic) ใช้บรรเทาอาการของ severe depression, insomnia
ผลข้างเคียง
-ง่วงนอน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ สับสน มีนงง (มักเกิดใน 1-2 ชั่วโมงแรกหลังรับประทานยา)
•แขนขาไม่แรง เดินเซ กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย
•หลงลืมเหตุการณ์ช่วงใกล้ ๆ ที่เกิดขึ้นก่อนให้ยา แต่จาเหตุการณ์ในอดีตได้ (anterograde amnesia)
-ทำให้เกิดอาการดื้อยาและติดยาได้หากใช้เป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดอาการมือสั่นหงุดหงิดกระสับกระส่ายนอนไม่หลับและเกิดอาการประสาทหลอนได้
•สับสนตื่นเต้นก้าวร้าว (paradoxical excitement)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาคลายกังวล
(1) ระมัดระวังอุบัติเหตุแนะนำผู้ป่วยไม่ควรขับรถและทำงานควบคุมเครื่องจักร
(2) แนะนำหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ยาแก้แพ้หรือแก้หวัดและยาระงับประสาทต่าง ๆ เพราะจะเสริมฤทธิ์ยาคลายกังวล
(3) แนะนำหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมากเพราะว่าจะทำให้ไปลดฤทธิ์ของยาที่ทำให้นอนหลับ
(4) แนะนำผู้ป่วยที่ติดยาเนื่องจากใช้เป็นเวลานานและปริมาณสูง (ได้รับยาต่อเนื่องนานเกิน 4 เดือน) ไม่ให้หยุดยาเองทันทีเพื่อป้องกันอาการขาดยาควรให้แพทย์เป็นผู้ลดยาให้
4.ยาควบคุมอารมณ์ (Mood stabilizing drugs)
1) ตัวอย่างยาและผลข้างเคียง ตัวอย่างยาที่ใช้
Lithium carbonate
• Carbamazepine (Tegretol)
ผลข้างเคียงของยา
Lithium carbonate
• Early Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นในช่วงแรกที่ได้ยา ได้แก่
-ระบบทางดินอาหารถูกรบกวน เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้องท้องเสีย
-กล้ามเนื้ออ่อนแรงและอ่อนเพลีย
-มือสั่นโดยเฉพาะเวลาเขียนหนังสือ
-ปากแห้งกระหายน้ำ
• Late Side Effects เป็นอาการที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน ได้แก่
-อาการมือสั่น
-กระหายน้ำและปัสสาวะบ่อยมากกว่าระยะแรก
-บวมและมีน้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้นจากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต
-อาจมีภาวะแทรกซ้อนของ Hypothyroidism หรือ Goiter
-Leukocytosis-หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ระดับความเป็นพิษของลิเทียม
ระดับเฝ้าระวัง (serum lithium 1.2-1.5 mEq / L) มือสั่นปัสสาวะบ่อยกระหายน้ำท้องเสียปวดท้องและอ่อนเพลียซึ่งอาจจะไม่รุนแรง
ระดับเป็นพิษปานกลาง (serum lithium 1.5-2.0 mEq / L) ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปากแห้ง มีนศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง พูดไม่ชัด ผิดปกติ ในการเคลื่อนไหวเดินเซตาพร่ามัวและหูอื้อ
ระดับเป็นพิษรุนแรง (serum lithium 2.0-2.5 mEq / L) ท้องเสียเบื่ออาหารคลื่นไส้และอาเจียนตลอดแขนขากระตุกเป็นระยะจนถึงแสดงอาการชักสับสนมากการทำงานของหัวใจผิดปกติเป็นลมหมดสติ
ระดับอันตราย (serum lithium> 2.5 mEq / L) การทำงานของหัวใจล้มเหลวความดันโลหิตต่ำมากไข้สูงไม่รู้สึกตัวมีอาการชักปัสสาวะออกน้อยและการทำงานของไตล้มเหลว
5.ยากลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงทางจิตเวช (hight alert drugs) 1. Lithium 2. Sodium valproate 3. Carbamazepine 4. Phenytoin 5.Clozapine
นางสาวธิติมา สังรวมใจ เลขที่ 6 ห้องB