Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รกเกาะต่ำ(Placentaprevia) - Coggle Diagram
รกเกาะต่ำ(Placentaprevia)
พยาธิสภาพ
และเมื่อเข้าสู่ระยะคลอดและระยะหลังคลอดเลือดจะหยุดยากเนื่องจากการหดรัดตัวของผนังมดลูกส่วนล่างไม่ดีจึงไม่สามารถกดหลอดเลือดที่ฉีกขาดให้หยุดไหลได้
ปากมดลูกอาจเริ่มมีการเปิดขยายทําให้มีการแยกตัวหรือลอกตัวบริเวณขอบรกจึงมีเลือดออกทางช่องคลอดให้ปรากฏ
โดยเลือดทีออกทางช่องคลอดเกิดจากในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์ผนังมดลูกส่วนล่างจะยืดออก
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุทีแท้จริงแต่เชือว่าเกี่ยวข้องกับตําแหน่งของการฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมแล้วใกล้กับปากมดลูกด้านใน
การเจริญที่ผิดปกติของเยื่อบุมดลูกซึ่งอาจเปน็ผลมาจากการอักเสบหรือมีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมของเยื่อบุมดลูก
อาจเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงบริเวณส่วนบนของมดลูก (upperuterinesegment) น้อยลงหรือมีก้อนเนื้อที่บริเวณส่วนบน
อาการและอาการแสดง
การตกเลือดที่เกิดจากภาวะรกเกาะต่ำจะเป็นในลักษณะออกๆหยุดๆหรืออาจไหลตลอดเวลา
เลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์ร่วมด้วย(painlessvaginalbleeding)ซึ่งพบประมาณร้อยละ70
ร้อยละ 35 ของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะรกเกาะต่ำจะพบส่วนนําของทารกผิดปกติเช่นส่วนนําเป็นก้น(breechpresentation)ทารกอยู่แนวขวาง(transverselie)แนวเฉียง(obliquelie)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากภาวะเลือดออกทางช่องคลอดจากรกเกาะต่ำ
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลลดลงและสามารถปรับตัวเผชิญกับสถานการณ์ของความเจ็บป่วยได้
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคการรักษาพยาบาลและผลของการรักษาพยาบาลให้ทราบและเข้าใจเพื่อลดความวิตกกังวล
เปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาต่างๆปลอบใจและให้กําลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการรักษาพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจและยอมรับสภาวะของทารกที่คลอดก่อนกําหนดซึ่งจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิ
เสี่ยงต่อภาวะ Hypovolemicshock และภาวะพร่องออกซิเจนมีเลือดออกทางช่องคลอดจากรกเกาะต่ำ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้มารดาและทารกปลอดภัยจากภาวะช็อค
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและบันทึกระดับสัญญาณชีพของผู้ป่วยทุก 5 นาทีและประเมินระดับการรู้สึกตัวตลอดระยะเวลาการผ่าตัด
ประเมินการสูญเสียเลือดทางช่องคลอดโดยรีบรายงานสูติแพทย์และวิสัญญีแพทย์ถ้าพบว่ามีการเสียเลือดมาก
ตรวจสอบระดับฮีมาโตคริตถ้าพบว่ามีระดับน้อยกว่า30%ต้องรายงานแพทย์เพื่อให้เลือดทดแทน
ให้สารน้ำอย่างพอเหมาะทางหลอดเลือดดํารวมทั1งบันทึกปริมาณของสารน้ำที่ได้รับและปริมาณปัสสาวะที่ออก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันการเกิดภาวะHypoxia
รักษาความอบอุ่นของร่างกายผู้ป่วยโดยห่มผ้าและใช้สารน้ำอุ่นให้ผู้ป;วย
แนวทางการรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
กรณีอายุครรภ์ 24 - 34 สัปดาห์ แพทย์อาจพิจารณาให้ยา
คอติโคสเตียรอยด์เพื่อเร่งการเจริญเต็มที่ของปอดทารกในครรภ์
กรณีอายุยังน้อย แต่มีอาการเจ็บครรภ์เจ็บครรภ์คลอดร่วมด้วย แพทย์อาจพิจารณาให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ระดับ(degree)ตามตําแหน่งการเกาะของรก
รกเกาะอยู่ต่ำ(low-lyingplacentaorplacentapreviatype1)
ขอบล่างของรกอยู่ห่างจากปากมดลูกด้านในไม่เกิน2เซนติเมตร หากเกาะเกิน2เซนติเมตรถือว่าเป-นรกเกาะในตําแหน่งปกติ
รกเกาะติดขอบ(marginalplacentapreviaorplacentapreviatype2)
รกเกาะต่ำชนิดที่ขอบรกเกาะที่ขอบของปากมดลูกด้านในพอดี
รกเกาะต่ำบางส่วน(partialplacentapreviaorplacentapreviatype3)
รกเกาะต่ำที่ขอบรกคลุมปากมดลูกด้านในเพียงบางส่วน
รกเกาะต่ำอย่างสมบูรณ์(totalplacentapreviaorplacentapreviatype4
รกเกาะต่ำที่ขอบรกคลุมปิดปากมดลูกด้านในทั้งหมด
อ้างอิง : บังอร ศุภวิทิตพัฒนา (2562) การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ; สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน เชียงใหม่ : โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่