Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
fall - Coggle Diagram
fall
ประเมิน
้HX
หกล้ม
PE
neuro
การเดิน
power
CVS : BP HR
การรู้คิด ตา
function
อุปกรณ์ช่วยเดิน
เท้า รองเท้า
การรักษาและป้องกันอย่างครอบคลุม
การป้องกัน :star:
ผู้ไม่เคยหกล้ม
คัดกรองหาปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่เคยหกล้ม
คัดกรองปัจจัยเสี่ยง;ประเมินความเสี่ยง
หาสาเหตุ :red_flag: ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การรักษา
ที่ต้องทำ
การประเมินสภาพแวดล้อม
ออกกำลังกาย
ความแข็งแรง
เน้นความแข็งแรง
ขา
ถ่วงน้ำหนัก
เริ่ม 30% RM
จน 80% RM
ทำเป็นชุด วันเว้นวัน ห้ามวันติดกัน
ลุกจากนั่งไปยืน
ฝึกทรงตัว
ง่ายไปยาก / อย่างน้อย 2 ชม ต้อสัปดาห์/ ต่เอนื่อง 6 m
ลดความกว้างฐานการยืน
ขยับจุดโน้มถ่วง
ลดการใช้มือประคอง
ไทเก็ก
ย้ายตัว
เดิน
แข็งแรง :smiley:ออกอย่างน้อย 2 ประเภท
แอโรบิก
เพิ่มความแข็งแรง
ไม่แข็งแรง :warning: ค่อยๆ ทำ
เริ่มจากการเคลื่อนไหว
แอโรบิก
ปอดและหัวใจดี
ระยะเวลา :fire:
warm 10-15m
exercise
กลาง >30 m/day / รวม 150 m/wk
หนัก 20 m/day /รวม 75 m/wk
cooldown 15-30 m
ความถี่ :!?:
กลาง อย่างน้อย 5 d/wk
หนัก อย่างน้อย 3 d/wk
ระดับความหนัก :!!:
score 5-6 กลาง
พูดคำสั้น 5 คำ โดยไม่ขาดช่วง
score 7-8 หนัก
ชนิด เดินเร็ว ปั่นจักรยานกับที่1 ว่ายน้ำ
ยืดหยุ่น
ยืนเหยียด ค้างไว้ 10-30 s , 2-4 ครั้งต่อท่า , จากนั้นเพิ่มเป็น 60 sต่อท่า
ทำได้ทุกวัน หรืออย่างน้อย 2 ครั้งต่อวัน
ประคบด้วยความร้อนก่อนยืด
กระเป๋าน้ำร้อน
อาบน้ำอุ่น
ทำตอน warm up, cool down
ตรวจ วิตามินดี
ขาด
ต้องได้เสริมอย่างน้อย 800 IU
การรักษาที่ควรทำ
ทบทวนการใช้ยา
แก้ไขการมองเห็น
ความดันต่ำตอนเปลี่ยนท่า
Carotid sinus syndrome รักษา dual chamber cardiac pacing
ขาด vitamin D, มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม
อย่างน้อย vitamin D 800 IU ต่อวัน
การรักษาที่น่าทำ
รักษาเท้า
แนะนำรองเท้า
ให้ความรู้
ไม่ควรใส่ multi lens เดินและขึิ้นบันได
functional mobility test
คาดคะเนระดับความสามารถ
ประมวลความเสี่ยงในการหกล้ม
การทดสอบ :red_flag:
timed up and go test
ระยะทาง 3 เมตร
ลุกจากที่นั่ง เดิน ใช้อุปกรณ์ช่วยเดินได้ หมุนตัว กลับมานั่งที่เดิม
การแปลผล สุขภาพดี >13.5 s, สุขภาพไม่ดี > 32.6 s
30 s chair stand
กดอก นั่งกลางเก้าอี้ ลุกขึ้น ลงนั่ง นับ 1 ครั้ง จนครบ 30s
น้อยกว่า 8 ครั้ง ผิดปกติ
กำลังกล้ามเนื้อ
4 stage balance
สมดุลย์การทรงตัว
อยู่ 4 ท่า ทำท่าละ 10 s
ท่า 1 เท้าชิดกัน
ท่า 2 ยืนต่อครึ่งเท้า
ท่า 3 ยืนต่อเท้า
ท่า 4 ยืนขาเดียว
ท่า 3 ถ้าทำไม่ถึง 10 s เสี่ยงต่อการหกล้ม
ความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
Thai - FRAT >- 4
หญิง
การมองเห็น ไม่สามารถอ่านตัวเลข 6/12
การทรงตัวบกพร่อง ยืนต่อเท้าได้ไม่ถึง 10s (2)
มีประวัติหกล้ม >2ครั้งใน 6 เดือน (5)
อาศัยบ้านทรงไทย พื้นสูงตั้งแต่ 1.5 เมตร
การใช้ยา
ยาใดๆ >-4 ชนิด
มี >1 ยานอนหลับ /ยากล่อมประสาท/ยาลดความดัน/ยาขับปสว
การให้วิตามิน D เสริม
ควรให้ขนาด 700 - 1000 IU /d ลดความเสี่ยงได้ 19%, ป้องกัน :!:กระดูกหักที่ไม่ใช่สันหลัง
EUROPEAN แนะนำควรมีระดับ vit D มากกว่า 30 ng/ml
ควรรักษา 30-50 มากกว่า 88 -> hyper ca
ต้องให้ร่วมกับ ca 500-1200 mg/d
ปัจจัยเสี่ยง
ภายใน
อายุ เพศหญฺิง
โรคประจำตัว ประสาท กระดูก ใจ
กล้ามเนื้อ ทรงตัว เดินบกพร่อง
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง
พฤติกรรมเสี่ยง
กลั้นปสว ไม่ได้
เคยล้ม กลัวล้ม
ยา
TCA SSRI antiHT antipsycho benzodia choline esterese diuretic (TZD) NSIAD ยานอนหลับ
ภายนอก
อุปกรณ์ช่วยเดิน
ไม้เท้า
ถือไม้มือดี ไม่้ ขาเสีย ขาดี
walker
ยกไม้ ก้าวครึ่งกรอบ ก้าวมาเท่า (ไม่ดี ดี)
สภาพแวดล้อม
รองเท้า
best :lock: รองเท้าหุ้มส้น หรือรัดส้น สูงไม่เกิน 1 นิ้ว
สัตว์เลี้ยงในบ้าน
ประเมินสภาพแวดล้อมที่บ้าน