Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุ เพศหญิง อายุ 84 ปี - Coggle Diagram
ผู้สูงอายุ เพศหญิง
อายุ 84 ปี
S1 ผู้ป่วยทำการฉายรังสีครบ 25 ครั้ง ครั้งสุดท้าย เมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 64
S2 ผู้ป่วยบอกมีน้ำตาไหลตลอดเวลา
O: มะเร็งผิวหนังบนใบหน้า
O: ใบหน้าพบมีรอยโรค ผิวหนังใบหน้ามีลักษณะผิวไหม้สีดำบริเวณแก้มขวาข้างจมูก มีแผลเ ตกสะเก็ดสีดำ
O: ประวัติการรักษาที่โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
1.พร่องความรู้ในการดูแลตนเองหลังฉายรังสีทำให้ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจประเมินผิวหนังผู้สูงอายุ
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองหลังฉายรังสี
1.หลีกเลี่ยงการใช้วัตถุเหนียว ติดลงบนผิวหนัง บริเวณที่ฉายรังสี
2.หลีกเลี่ยงการใช้ขี้ผึ้ง โลชั่น น้ำยาทาผิว ยาดับกลิ่นตัว ครีมทุกชนิด
3.หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ ครีมต่าง ๆ ฟอกหรือทาบริเวณที่ฉายรังสี
4.แนะนำให้ผู้ป่วยใส่เสื้อผ้าที่นุ่ม บาง เบา
5.แนะนำการรักษาผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสีให้แห้ง หากเปียกชื้นให้ใช้ผ้าหรือ กระดาษนุ่มซับ ให้แห้ง โรยด้วยแป้งข้าวโพด ห้ามใช้แป้งที่มีกลิ่นหอม
หลังจากหยุดฉายรังสี 6-8 สัปดาห์ ให้ทาหรือนวดผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสีด้วยน้ำมันมะกอก หรือครีม บำรุง เช้า-เย็น เพื่อป้องกันการแข็งตัวของผิวหนัง
7.อธิบายถึงอาการของการแพ้รังสี
8.แนะนำการดูแลรักษาความสะอาดช่องปาก
9.กระตุ้นให้ดื่มน้ำมาก ๆ
10.แนะนำอาหารที่มีโปรตีนและให้พลังงานสูง ให้รับประทานน้อยๆ บ่อย ๆ ครั้ง
11.งดอาหารหมักดอง อาหารรส
12.แนะนำการสังเกตความผิดปกติของร่างกาย
13.ระวังไม่ให้บริเวณที่ใช้รังสีถูกแสงแดดจัดจัดโดยตรง
ให้คำแนะนำญาติในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตัวได้ดีขึ้น
ติดตามประเมินผลการปฏิบัติตัวของผู้สูงอายุเพื่อประเมินผลการให้ให้คำแนะนำหากผู้สูงอายุยังไม่เข้าใจจะต้องให้หาแนวทางแก้ไขอีกครั้ง
ทฤษฎีที่สอดคล้อง
ทฤษฎีเชื่อมตามขวางCross( – linking of collagen and other proteins)
กลุ่มcollagen , Elastin, และสารที่อยู่ในCell และ ภายนอก Cell ซึ่งสารกลุ่มนี ้เป็น สารกลุ่มโปรตีน เกิดจากการเชื่อมตามขวางภายใน Cell ประกอบเป็นโครงร่างของร่างกายและสร้างความ แข็งแรงกับโครงสร้างผิวหนัง กระดูก และกล้ามเนื้อต่างๆ ในร่างกาย เมื่ออายุcollagenมีาการขึ้น เปลี่ยนแปลงหรือเสื่อมหน้าที่มีผลทําให้ขาดความยืดหยุ่นและจับตัวกันแข็งless( pliable and stiffer) ส่งผลให้cell ตาย และทําให้เกิดการเสื่อมของอวัยวะ เช่น ผิวหนัง ผนังหลอดเลือดเป็นต้นอกจากนียัง้ มีความเชื่อที่เกี่ยวกับรังสีอุลตราไวโอเลตที่มีผลต่อความชราและการเปลี่ยนแปลงในระดับสรีรวิทยา ทําให้ ผิวหนังเกิดริ้วรอยWrinkling)( ที่เรียกว่าSolar Elastosis มีผลให้เกิดมะเร็งผิวหนังได้
ทฤษฎีการผ่าเหล่า Somatic mutation theories
ปัจจัยภายนอก เช่น รังสีเอกซ์เรย์และสารเคมี มีผลต่อ
การถ่ายทอดข้อความในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน
ของ DNA ทําให้โครโมโซมเกิดความผิดปกติและเกิดการ
ผันแปรของเซลล์หรืออวัยวะในระบบต่าง ๆ ทําให้เกิดการ
แบ่งตัวผิดปกติ (Mutation) เกิดมีโรคภัยไข้เจ็บหรือเกิด
มะเร็ง กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นช้าๆ และจะปรากฏความ
ผิดปกติในวัยสูงอายุ
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ Free( Radical Theory)
กระบวนการออกซิเดชั่นของ O2 ที่ไม่สมบูรณ์
ในกระบวนการเผาผลาญสารจําพวกโปรตีน, คาร์โบไฮเดรท ทําให้เกิดอนุมูลอิสระ (Free Radical substance) สามารถทําลายผนัง cell โดยโมเลกุลของอนุมูลอิสระเมื่อแตกออกเป็นอิสระจะจับกับโมเลกุลอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียงทําให้โครงสร้างและหน้าที่ของ Cell เปลี่ยนไปอนุมูลอิสระเกิดได้จากสาเหตุอื่น ๆได้อีก เช่น มลภาวะเป็นพิษ,รังสี,อาหาร
S ผู้ป่วยให้ประวัติว่ามีโรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง เป็นระยะเวลา 5-6 ปี
S: ไม่สามารถรับประทานยาลดไขมันได้
S: ออกกําลังกายน้อยหรือไม่เคยออก
S: ชอบรับประทานข้าวเหนียวจิ้มปลาร้าดิบ และผักดอง
S: หลับยาก/นอนไม่หลับ
O: โรคความดันโลหิตสูง
O: ไขมันในเลือดสูง Cholesterol 236 ma/dL, Triglyceride 258 ma/dL
O: BMI 24.89 kg/m2 อยู่ในเกณฑ์อ้วน รอบเอว 94 ซม.
O: คัดกรองความดันโลหิตสูง BP 140/60 mmHg
O: คัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ระดับมีความเสี่ยงสูง
O: ระบบหายใจและทรวงอก หายใจเหนื่อยง่าย
O: Amlodipine 5 mg 1x1 O pc
O ประวัติการรับยาเคยได้รับยา Simvastatin
2.ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงตามวัยและปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม
กิจกรรมการพยาบาล
การนอนหลับพักผ่อน
การบริหารสมองป้องกันภาวะสมองเสื่อม
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
การบริหารข้อเข่าเสื่อม
การรับประทานอาหาร
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
Wear and Tear Theory
ร่างกายเมื่อใช้งานไปนานๆจะเกิดความเสื่อมโทรม คล้ายกับเครื่องจักร เมื่ออายุมากขึ้นอวัยวะส่วนใหญ่ที่จะมีการเสื่อมสภาพลงจึงทำให้การสร้างเซลล์ลดลง
S: ปัสสาวะราด/กลั้นปัสสาวะไม่ทัน เนื่องจากมีปวดขาและเข่าทำให้ไปเข้าห้องน้ำไม่ทัน
O: คัดกรองภาวะการกลั้นปัสสาวะอยู่ในระดับรุนแรงปานกลาง
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่เนื่องจากกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อนตัวและร่างกายเสื่อมตามวัย
ทฤษฎที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง
(Cross linking theory)อุ้งเชิงกรานหย่อน ทำให้ปัสสาวะไม่อยู่
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพของผู้สูงอายุ
ประเมินอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
แนะนําให้ผู้สูงอายุดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์
แนะนําให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำ อย่างน้อย 2 ลิตร
สอนการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานเพื่อช่วยในการกลั้นปัสสาวะได้นานขึ้น
S: ปวดฟันเมื่อรับประทานอาหาร
S: ไม่เคยได้รับการตรวจหรือรักษาจากทันตบุคลากร
O: พบเหงือกร่น
O: มีหินปูนเกาะ
O: ตรวจฟันพบ ฟันหัก ฟันแตก เป็นรู ฟันมี 18 ซี่ ฟันกรามไม่มี 4 ซี่ และ ฟันบดข้างด้านบนหัก 2 ซี่ ฟันกัดด้านหน้าบน หลุด 2 ซี่ มีฟันผุ 3 ซี่ มีรากฟันที่เกิดจากฟันหัก/แตก
สุขภาพช่องปากไม่ดีเนื่องจากการดูแลสุขภาพช่องปากไม่ถูกต้องและการเสี่อมตามวัย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะสุขภาพด้านโภชนาการเบื้องต้น
ให้ความรู้กับผู้สูงอายุและผู้ดูแลในเรื่องผลดีผลเสีย ของการดูแลช่องปากและฟัน
ให้คำแนะนำกับผู้สูงอายุและผู้ดูแลในการ ดูแลช่องปาก
หลีกเลี่ยงการเคี้ยวอาหารที่แข็ง แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อน เคี้ยวง่าย
แนะนำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารที่หลากหลายในแต่ละมื้อและเป็นอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ
แนะนำให้ผู้สูงอายุเคี้ยวอาหารข้างที่ไม่มีฟันแตกและไปพบทันตแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพช่องปาก
ติดตามและประเมินผล
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
Wear and Tear Theory
ร่างกายเมื่อใช้งานไปนานๆจะเกิดความเสื่อมโทรม คล้ายกับเครื่องจักร เมื่ออายุมากขึ้นอวัยวะส่วนใหญ่ที่จะมีการเสื่อมสภาพลงจึงทำให้การสร้างเซลล์ลดลง
S ผู้ป่วยบอกว่าตาซ้ายมองเห็นไม่ชัด คล้ายมีหมอกบัง
S: ผู้ป่วยบอกปวดเข่าขวา เวลาลุกหรือเดินมีเสียงกรอบแกรบ
O: Pain score 3 คะแนน
O: รับยา Calcium carbonate
O: Timed Up and Go Test เสี่ยงต่อการหกล้มสูง ใช้เวลานานในการลุกขึ้นเดิน ความสามารถในการเคลื่อนย้าย เคลื่อนย้ายตัวในการก้าวเดินช้า
O: การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน เช่น ไม้เท้าจากไม้ไผ่ทำเอง
O: คัดกรองปัญหาการมองเห็น พบตาขวามัวคล้ายมีหมอกบัง
O: คัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อม มีโอกาสเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม
O: การประเมินสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้ม ห้องโถงและห้องนอน มีของวางเกะกะ ห้องน้ำเป็นแบบส้วมซึมไม่ใช่ชักโครก ไม่มีราวให้ยึด ส่วนห้องครัวอยู่หลังบ้านและทางเข้าบ้านเป็นพื้นดินไม่เรียบ มีโคลน/เปียกแฉะ
O: ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก เดินไม่ตรงเพราะปวดเข่าซ้าย กระดูกขาทั้งสองข้างคดงอ
O: ตา : พบ เยื่อบุตาซีดเล็กน้อย ตาขวามีน้ำตาไหลตลอดเวลา และมีต้อเนื้อที่ตาขวา ตาขวามัวมองเห็นไม่ชัด การมองเห็น มองใกล้ไม่เห็น มองไกลเห็น ลานสายตาแคบ ตาขวามัวมองเห็นหมอง ตาซ้ายปกติ เคลื่อนไหวลูกตาได้แต่ช้า และมองตามไม่เต็มที่ กลอกตาไปมาได้ทั้งสองข้างแต่ช้า
O: ระบบประสาท ความรู้สึกช้า มีอาการมือสั่นและเคลื่อนไหวข้า ความคิดเชื่องช้า
5.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุจากสภาพร่างกายเสื่อมตามวัยและปัจจัยทางสภาพแวดล้อม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะ การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
แนะนำญาติไม่ทิ้งผู้สูงอายุไว้เพียงลำพังภายในบ้าน
แนะนำญาติไม่ให้วางสิ่งของกีดขวางระหว่างทางเดินและรอบ ๆ ตัวผู้สูงอายุ มีแสงสว่างเพียงพอ
แนะนำการจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะกับผู้สูงอายุ
ตรวจเยี่ยมอาการตามแนวทาง 4 P Hourly round
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
Wear and Tear Theory
ร่างกายเมื่อใช้งานไปนานๆจะเกิดความเสื่อมโทรม คล้ายกับเครื่องจักร เมื่ออายุมากขึ้นอวัยวะส่วนใหญ่ที่จะมีการเสื่อมสภาพลงจึงทำให้การสร้างเซลล์ลดลง
ทฤษฎีไนติงเกล
การจัดสิ่งแวดล้อมที่สะอาดจะช่วยลดความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
S1 ผู้สูงอายุบอกไม่ได้เป็นสมาชิกในชมรมหรือองค์กรใดๆ ปัจจุบัน ไม่ได้ทำงาน รายได้
S2 ผู้สูงอายุบอกว่าไม่สามารถไปวัดได้เหมือนเดิมเนื่องจากปวดขา
S3 ผู้ป่วยบอกว่าไปเยี่ยมพี่สาวใกล้ๆไม่ได้เนื่องจากเดินไปไม่ถึง
O1 ลุกขึ้นยืนและเดินได้ช้าและลำบาก
O2 ผู้สูงอายุอยู่แต่บ้านไม่ได้ออกไปไหน
O3 จากการประเมิน TUGT ใช้เวลาทั้งหมด 30 วินาที เสี่ยงต่อการหกล้มสูง
O4 ปวดเข่า Pain score 3 คะแนน
6.ปฏิสัมพันธ์ต่อสังคมลดลงเนื่องจากสภาพร่างกายเสื่อมลงตามวัย
กิจกรรมการพยาบาล
ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนยังมีคุณค่า มีความสำคัญและมีความหวังในชีวิต
แนะนำครอบครัวระมัดระวังคำพูดหรือการกระทำที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุและพยายามเน้นถึงความหมายหรือความสำคัญของผู้สูงอายุ
ชักชวนผู้สูงอายุพูดคุยและรับฟังถึงส่วนดีหรือเหตุการณ์ประทับใจในอดีตของผู้สูงอายุอย่างเต็มใจ
ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมที่สนใจต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น พาไปวัดในวันพระ และพาไปเยี่ยมพี่สาวอย่างน้อยอาทิตย์ละครั้ง
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีถดถอยผู้สูงอายุ (Disengagement) ยอมรับว่าตนเองมีความสามารถลดลงมีการแยกตัวเองออกมาและปล่อยวางเป็นอิสระ
โรคประจำตัว
ความดันโลหิตสูง
ทฤษฎีเชื่อมตามขวางCross( – linking of collagen and other proteins)
ไขมันในเลือดสูง
ทฤษฎีการสะสม (Accumulative theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความสูงอายุเป็นผลมาจากร่างกายมีการสะสมของเสียใน Cellได้แก่ Lipofuscin เป็นสารสีดำไม่ละลายน้ำ เกิดจากเซลล์เผาผลาญโปรตีนและไขมัน ซึ่งการสะสมเกิดขึ้นตลอดชีวิต เเต่การสะสมจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุซึ่งจะพบมากใน รังไข่ตับ เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ และผิวหนัง