Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการของ หนังสือสำหรับเด็กของไทย, นางสาวรัชฎาภรณ์ พุฒพันธ์ รหัส 020…
พัฒนาการของ
หนังสือสำหรับเด็กของไทย
ยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น
จนถึงสมัยก่อน
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
รัชกาลที่ 5
เริ่มต้นใช้แบบเรียนหลวง
ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อย อาจารยางกูร) 6 เล่ม
วาหนิติ์นิกร
อักษรประโยค
มูลบทบรรพกิจ
สังโยคพิธาน
ไวพจน์พิจารณ์
พิศาลการันต์
ในปี พ.ศ. 2414 มีการจัดการศึกษาแบบใหม่
ยกเลิกหนังสือแบบเรียนที่ใช้มาทั้งหมด
ตั้งแต่ พ.ศ. 2440
กระทรวงศึกษาธิการได้จัดพิมพ์แบบหัดอ่านมาหลายชุด
เช่น แบบสอนอ่านภูมิศาสตร์ ชุดจินตกวีนิพนธ์
โดยคัดเลือกตัดตอนมาจากวรรณคดีบางเรื่อง
สมเด็จกรมพระยาดำรงฯโปรดให้กระทรวงศึกษาธิการ
รวบรวมบทกล่อมเด็กที่ใช้ขับกล่อมอยู่ตามหัวเมืองต่าง ๆ
แล้วรวมเป็นเล่มเรียกว่าบทกลอนกล่อมเด็ก
จัดทำหนังสือสุภาษิตสอนเด็ก (2472) ได้ตีพิมพ์
เผยแพร่เป็นครั้งแรก เป็นบทดอกสร้อยสุภาษิต
ใช้เป็นแบบสอนอ่านในโรงเรียนถึง 60 ปี
รัชกาลที่ 3
มีการพิมพ์แบบเรียนเหล่านี้ รวมทั้งหนังสือ
อ่านประกอบอีกหลายเรื่อง อาทิ เสือโค
จันทโครพ สังข์ทอง กากี พระยาฉัททันต์
พระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน เป็นต้น
ยุคเริ่มต้น
จินดามณี
แต่งขึ้นในสมัยอยุธยา (ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช)
วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อใช้เป็นแบบเรียนสำหรับเด็ก
ลักษณะคำประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นร้อยแก้ว แทรกด้วยคำประพันธ์ประเภทอื่น ๆ
ผู้แต่งคือ พระโหราธิบดี
ยุคหลังจากการเปลี่ยนแปลง
การปกครองจนถึงปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และ
สงครามมหาเอเชียบูรพา พ.ศ. 2482 - 2486
เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้การผลิตหนังสือสำหรับเด็กลดลง
ในปี พ.ศ. 2475
เมื่อสวัสดิ์ จุฑารพ เริ่มนำเอานิทานไทย
ประเภทจักร ๆ วงศ์ ๆ มาเขียนเป็นการ์ตูนลงพิมพ์ติดต่อกัน
ในหนังสือพิมพ์รายวันสยามราษฎร์ และมีเรื่องอื่น ๆ
ออกมาอีกหลายเรื่อง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2485
ประยูร จรรยาวงศ์
ก็เริ่มงานเขียนการ์ตูนเรื่องยาวเรื่องหลวิชัย
ติดต่อกันในหนังสือพิมพ์พิมพ์ไทย
พ.ศ. 2484
ว.ณ. ประมวญมารค ได้เขียน
วิลเลียมเด็กจอมแก่น ลงในหนังสือ ประมวญวัน
พ.ศ. 2487
มีงานแปลสำหรับเด็กสองเรื่อง ได้แก่
การเดินทางไปใจกลางภิภพ
แปลจากนวนิยาย
วิทยาศาสตร์ของจูล เวินส์ และ
ดวงใจ
แปลและ
ดัดแปลงจากเรื่อง Heart โดยซิม วีระไวทยะ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ. 2475
กระทรวงศึกษาธิการจัดทำแบบเรียนหลวงขึ้นใหม่
ชื่อว่า
แบบเรียนใหม่
และ
แบบสอนอ่านใหม่
ของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
ช่วง พ.ศ. 2491 – 2501
ยุคเฟื่องฟูสำหรับหนังสือเด็ก
ในปี พ.ศ. 2493
กระทรวงศึกษาธิการ
ได้ออกระเบียบว่าด้วยการจัดทำตำราเรียน
ใน พ.ศ. 2495
มีการก่อตั้งกรมวิชาการขึ้น
ปัจจุบัน
พ.ศ. 2547
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร (ไอซีที.) สถาบันพัฒนาความรู้แห่งชาติ
ร่วมกับสนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวร์แห่งชาติ
(องค์กรมหาชน) ได้ริเริ่มให้มีการประกวดวรรณกรรมเยาวชน
เป็นครั้งแรก ชื่อรางวัลดวงดาว
สพฐ
. ได้มีการจัดงานศิลปหัตกรรมนักเรียนขึ้นทุกปี
และหนึ่งในกิจกรรมที่จัดขึ้นนั้นเป็นการประกวด
การทำหนังสือเล่มเล็กระดับชาติ
ภาคส่วนของเอกชนก็มีการจัดประกวด
วรรณกรรมเด็กและเยาวชนต่าง ๆ เช่น
รางวัลแว่นแก้ว
รางวัลเซเว่นบุ๊ค
รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด
นางสาวรัชฎาภรณ์ พุฒพันธ์ รหัส 020 ปี 4 หมู่ 1
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย