Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท
(Nervous System
image, เป็นระบบที่ควบคุมการทำหน้าที่ของส…
ระบบประสาท
(Nervous System
สมอง(Brain) 🧠
-มีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรมและรักษาสมดุลในร่างกาย เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิเป็นต้น
-หน้าที่ของสมองยังเกี่ยวข้องกับการรู้ ความจำ การเคลื่อนไหว และความสามารถอื่นๆที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
-
-
-
-
-
เซลล์ประสาท
ร่างกายจะมีเซลล์ประสาท(nerve cell หรือneuron)ปรากฏอยู่ทั่วร่างกายจำนวนมากนับเป็นพันๆเซลล์ที่สามารถเชื่อมโยงกันและส่งสัญญาณระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายในร่างกาย
โดยเซลล์บางชนิดทำหน้าที่ยับยั้งการทำงานของอวัยวะต่างๆ บางชนิดเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลส์ที่ผลิตสารเคมี คล้ายฮอร์โมน และบางชนิดเป็นเซลส์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสานหรือเซลล์ค้ำจุนเรียกว่า เซลล์พี่เลี้ยง(neuroglia)เซลล์ประสาทเกือบทั้งหมดจะรวมกันที่ส่วนหัว ซึ่งพัฒนาไปเป็นสมอง มีส่วนที่ต่อจากสมองทอดยาวตามลำตัว ทางด้านหลังเรียกว่า ไขสันหลัง
-
-
เป็นระบบที่ควบคุมการทำหน้าที่ของส่วนต่างๆของทุกระบบในร่างกายให้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน เป็นแหล่งที่มาของความคิด สติปัญญา การใช้เหตุผลและการแสดงอารมณ์
ไขสันหลัง(Spinal cord)
หน้าที่
-การถ่ายทอดกระแสประสาท โดยรับรู้ความรู้สึกจากส่วนต่างๆของร่างกายไปยังสมองและนำกระแสประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
-ควบคุมการเกิดรีเฟลกซ์(reflex) ที่เกิดในไขสันหลังที่ทำงานเกี่ยวกับแขน ขา ลำตัว
เยื้อหุ้มไขสันหลัง
-dura mater
-pia mater
-Subarachaoid space
_csf
(cerebrospinal fluid )
ไขสันหลัง(Spinal cord)
มีลักษณะเรียวยาว แบ่งออกเป็น2ส่วน คือส่วนคอกับส่วนอกส่วนปลายจะเรียวแหลม ไขสันหลังต่อจาก(medulla oblongata)ตั้งแต่ (foramen magnum) ลงมาอยู่ในช่องกระดูกสันหลังสิ้นสุดที่ส่วนเอวL1-2โดยมีเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังหุ้มอยู่ ซึ่งด้านนอกจะเป็นสีขาว เป็นที่อยู่ของใยประสาท ด้านในสีเทาเป็นตัวของเซลล์ ด้านข้างไขสันหลังเป็นทางออกรากประสาท(nerve root)31คู่
ไซแนปส์(Synapse)
เป็นรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาท กระแสประสาทจะส่งผ่านจากตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่ง โดยส่วนของเซลล์ประสาทที่ไปเชื่อมกับตัวอื่นทางด้านแอกชอน ซึ่งบริเวณส่วนปลายนี้จะมีตำแหน่งในการสร้างสารเคมี(neurotransmitter)โดยจะปล่อยสารเคมีออกมา2ตัว คือ
1.สารเคมีที่มีฤทธิ์กระตุ้น ได้แก่ acetylcholine
2.สารเคมีที่มีฤทธิ์ยับยั้ง ได้แก่ gamma aminobutyric:GABA
หน้าที่ของไซแนปส์
1.ทำให้คำสั่งหรือกระแสประสาทเดินทางถ่ายทอดทางเดียวเท่านั้นช่วยให้ระบบประสาทแผ่กระแสประสาทไปยังส่วนรับคำสั่งได้อย่างเรียบร้อย
2.ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ(amplifying action) โดยมีการรวมตัว(summation)หรือกระจายกระแสประสาทออก ทำให้คำสั่งนั้นแผ่กระจายกว้างมากขึ้น
3.ทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงาน(integrative action) ของคำสั่งต่างๆมีทั้งการเร่ง
-
ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System)
1.ระบบประสาทซิมพาเธติก(Sympathetic nervous System)
- ศูนย์กลางอยู่บริเวรไขสันหลัง จะทํางานในกรณีที่บุคคลตกอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาตื่นตัวเพื่อเตรียมพร้อมที่จะสู้หรือหนีจากสถานการณ์เหล่านั้น
-ปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้น:ขนลุกตั้งชัน ชีพจรเต้นเร็วกว่าปกติ เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หัวใจเต้นเร็วและรัว
ระบบประสาทอัตโนมัติ(Autonomic Nervous System)
2.ระบบประสาทซิมพาราซิมพาเธติก(parasympathetic nervous system)
-มีศูนย์กลางอยู่ที่ก้านสมอง(medulla)และไฮโปทาลามัส(hypothalamus) โดยระบบนี้จะทํางานควบคู่กับระบบซิมพาเธติก
-เส้นขนจะราบลง ชีพจรหัวใจและความดันโลหิตจะกลับคืนสภาพเดิม