Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายตามมติองค์การอนามัยโลก สามารถแบ่งได้ 8 ระยะ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจ…
นโยบายตามมติองค์การอนามัยโลก สามารถแบ่งได้ 8 ระยะ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน
1.พัฒนาการรยะแรก (พ.ศ.2504-2519) มีการอบรมอาสาสมัครกำจัดไข้มาเลเรียขึ้น เพื่อช่วยแก้ปัญหาโรคมาเลเรีย :
:black_flag:
งานสาธารณสุขมูลฐานเกิดขึ้นมาจากการที่ประชาชนในชนบทประสบกับปัญหาสุขภาพอนามัยและปัญหาการขาดแคลนของบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน :red_flag:
ในปี พ.ศ. 2504-2505 มีการอบรมอาสาสมัครกำจัดไข้มาเลเรียขึ้นเพื่อช่วยแก้ปัญหาโรคมาเลเรียที่มีการระบาดในขณะนั้น :red_flag:
ในปี 2509 นพ.สมบูรณ์ วัชโรทัย ศึกษาและพบว่า อัตราการไปใช้บริการที่สถานีอนามัยตำบลทุกระดับมีระดับต่ำมาก จึงหาวิธีแก้ไขโดยจัดทำโครงการทดลองที่สำคัญ :red_flag:
หลังจากนั้น 1 ปี พบว่าอัตราการมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการขยายโครงการไปยังอำเภออื่นๆในจังหวัดเชียงใหม่ และอ.โนนไทย จ.นครราชสีมา :red_flag:
3.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529) :black_flag:
มีการจัดตั้งหน่วยงานฝึกอบรมสาธารณสุขมูลฐานขึ้นหลายแห่ง ทั้งในเขตปริมณฑลและภูมิภาคโดยความ :red_flag:
รัฐบาลญี่ปุ่นได้ลงนามให้ความช่วยเลือด้านการก่อสร้างและด้านวิชาการในวงเงิน 400 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2525 :red_flag:
เป็นช่วงการประสานงานเพื่อดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานร่วมกันใน 4 กระทรวงหลัก :red_flag:
ได้แก :checkered_flag:
กระทรวงเกษตร :pen:
สหกรณ์การเกษตร :pen:
กระทรวงศึกษาธิการ :pen:
กระทรวงมหาดไทย :pen:
กระทรวง :pen:
มีการกำหนดโครงการ"ปีรณรงค์การสาธารณสุขแห่งชาติ" :red_flag:
5.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539) :black_flag:
เป็นการดำเนินการต่อจากแผนฯ 6 มุ่งเน้นให้ทุกครอบครัวมีความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง :red_flag:
. มีการเพิ่มกิจกรรมใหม่ของงานสสม.อีก 4 กิจกรรม :red_flag:
ได้แก่ :checkered_flag:
อนามัยสิ่งแวดล้อม :pen:
การคุ้มครองผู้บริโภค, :pen:
การควบคุมอุบัติเหตุ อุบัติภัย :pen:
โรคไม่ติดต่อ :pen:
คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้วันที่ 20 มีนาคมของทุกปีเป็น “วันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ” :red_flag:
7.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) :black_flag:
เกิดการปฏิรูประบบราชการ สำนักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข :recycle: :red_flag:
ปรับเปลี่ยนเป็นกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข :red_flag:
รถ่ายโอนงบอุดหนุนเพื่อการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้านละ 7,500 บาท ต่อหมู่บ้านต่อปี ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น :red_flag:
8.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-ปัจจุบัน) :black_flag:
เกิดกองทุนสุขภาพระดับตำบล โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ให้การสนับสนุนงบประมาณ :red_flag:
:
ได้แก่ :checkered_flag:
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : :pen:
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข :pen:
องค์กรอาสาสมัครสาธารณสุข :pen:
ประชาชน ในการพัฒนาด้านสาธารณสุข
:pen:
2.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) :black_flag:
พ.ศ. 2522 โครงการสาธารณสุขมูลฐานได้เริ่มต้นและผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ภายใต้ “แผนงานสาธารณสุขมูลฐาน (สสม.)” :red_flag:
มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐานแห่งชาติ เพื่อทำหน้าที่กำหนดนโยบาย แผนงาน แ :red_flag:
เริ่มต้นของการพัฒนา 3 ก. คือ กำลังคน กองทุน และการบริหารจัดการ :red_flag:
6.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544) :black_flag:
มีการส่งเสริมบทบาทและศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข ส่งเสริมแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว :red_flag:
ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดบริการสาธารณสุขในชุมชน :red_flag:
มีการจัดสรรงบอุดหนุนเพื่อการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้านละ 7,500 บาทต่อหมู่บ้านต่อปี เพื่อดำเนินกิจกรรม 3 กิจกรรม :red_flag:
ได้แก่ :checkered_flag:
พัฒนาศักยภาพคน :pen:
แก้ไขปัญหาสาธารณสุข :pen:
ให้บริการใน:pen:
4.ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ.2530-2534) :black :black_flag: :
ในระยะนี้ จะเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยใช้เกณฑ์จปฐ. เพื่อเร่งรัดให้เกิดการดำเนินงานสสม. ให้ขยาย :red_flag:
มุ่งปรับปรุงคุณภาพของสถานบริการตามระบบการพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ (พบส.) :red_flag:
มีการเพิ่มกิจกรรมจำเป็นของการสาธารณสุขมูลฐาน 2 กิจกรรม ไ :red_flag:
ได้แก่ :checkered_flag:
งานทันตสาธารณสุข :pen:
งานสุขภาพจิต :pen: