Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติเมืองสงขลา :check: - Coggle Diagram
ประวัติเมืองสงขลา :check:
ยุคเขาแดง :explode:
• เมืองสงขลาหัวเขาแดงตั้งอยู่บนบริเวณปากอ่าวทะเลสาบสงขลา • สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นในช่วงกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง)
• เอกสารพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับได้กล่าวถึงเมืองสงขลาในฐานะ เมืองท่าในนาม ซิงกอร่า
• ส่วนคนพื้นเมืองออกเสียงว่า สิงขร (สิง-ขอน) ซึ่งมาจากภาษาบาลี แปลว่า ภูเขา
• เอกสารพ่อค้าชาวฮอลันดาได้กล่าวถึงเจ้าเมืองสงขลาว่าเป็นชาวมุสลิม ชื่อ “โมกุล”และอังกฤษเรียกเจ้าเมืองสงขลาว่า “ดะโต๊ะโมกอลล์”
• โมกุลหรือดะโต๊ะโมกอลล์ได้ตั้งเมืองสงขลาขึ้นบริเวณหัวเขาแดงด้วยสภาพ ภูมิศาสตร์ที่เป็นอ่าวเหมาะกับการจอดพักของเรือสินค้า
• สงขลาจึงกลายเป็นเมืองท่าและเป็นศูนย์กลางการค้าที่มีความเจริญอย่างรวดเร็ว • ชาวตะวันตกชาติแรกที่เข้ามา
ติดต่อค้าขายกับเมืองสงขลาคือ พ่อค้าชาวฮอลันดา • โมกุลหรือดะโต๊ะโมกอลล์ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2163
• บุตรชายคนโตที่มีชื่อว่า สุไลมาน ได้เป็นเจ้าเมืองสืบต่อจากบิดา • สุไลมานได้พัฒนาเมืองสงขลาให้มีความเจริญด้านการค้ายิ่งขึ้น
• สุไลมานเริ่มเอาใจออกห่างไม่ยอมรับอ านาจของกรุงศรีอยุธยาและตั้งตนเป็นกษัตริย์ เรียกว่า “พระเจ้าสงขลาที่ 1”
• พระเจ้าปราสาททองได้ส่งกองทัพมาปราบเมืองสงขลาใน พ.ศ.2191 และ พ.ศ. 2197 แต่ก็ไม่สามารถเอาชนะเมืองสงขลาได้
• พระเจ้าสงขลาที่1 ได้ถึงแก่อสัญกรรมใน พ.ศ. 2211
• มุสตาฟาร์บุตรชายคนโตได้ด ารงต าแหน่งพระเจ้าสงขลาที่2 ในฐานะกษัตริย์สืบต่อ จากบิดา
• ต่อมาใน พ.ศ.2223 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ส่งกองทัพมาปราบปรามเมือง สงขลาจนส าเร็จ
• สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้แยกราษฎรสงขลาหัวเขาแดง ออกเป็น 2 ส่วน
• โดยอพยพราษฎรส่วนหนึ่งไปอยู่ที่เมืองไชยาและจับตัวพระเจ้าสงขลาที2 พร้อมทั้ง บริวารไปไว้ที่กรุงศรีอยุธยา อีกส่วนหนึ่งได้โยกย้ายถิ่นฐานไปยัง
ยุคแหลมสน :checkered_flag:
• ประชาชนชาวสงขลาฝั่งหัวเขาแดงที่เหลืออยู่ ได้ย้ายชุมชนไปสร้างเมือง ใหม่ ที่รู้จักกันในชื่อว่าเมืองสงขลาฝั่งแหลมสน
• เนื่องจากเป็นที่ตั้งเมืองที่อยู่บนเชิงเขา ท าให้เมืองสงลาแห่งที่สองนี้ใน ภายหลังประสบกับปัญหาการขาดแคนน้ าจืดอุปโภค
• และ ปัญหาการมีพื้นที่ในทางราบไม่เพียงพอกับการขยายและเติบโตของ เมือง ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ท าให้เกิดการย้ายเมืองในเวลาต่อมา
• เจ้าเมืองสงขลาคนแรกจึงถูกแต่งตั้งโดยพระยาจักกรี และ พระยาพิชัย ราชา เป็นเพียงแค่การคัดเลือกชาวบ้านคนหนึ่งชื่อ “โยม” • ในคราวเดียวกันนั่นเอง
ยังมีชาวจีนคนหนึ่งชื่อ นายเหยี่ยง แซ่เฮา ชาวจีน ได้เข้ามาสัมปทานผูกขาดธุรกิจรังนกบน เกาะสี่เกาะห้า
• เจ้าพระยาทั้งสองจึงพิจารณา แต่งตั้งให้ นายเหยี่ยง แซ่เฮา เป็นหลวง อินทคีรีสมบัติ
• พระสงขลา (โยม) หย่อนสมรรถภาพในการปฏิบัติราชการ
• จึงให้หลวงอินทคีรีสมบัติ (เหยียง แซ่เฮา) เลื่อนต าแหน่งเป็น หลวง สุวรรณคีรีสมบัติ เจ้าเมืองสงขลา
• คนถัดมาซึ่งนับว่าเป็นการเริ่มต้นสายสกุล ณ สงขลา ซึ่งต่อมาได้ปกครอง เมืองสงขลา มาถึง 8 รุ่น
ยุคบ่อยาง :recycle:
• จากการขยายตัวของเมืองสงขลาฝั่งแหลมสน ท าให้ปัญหาการขาดแคลนน้ าจืดเพื่อ การอุปโภคบริโภค
• พื้นที่บริเวณสงขลาฝั่งแหลมสน เป็นพื้นที่ลาดชันเชิงเขา ท าให้เป็นอุปสรรคต่อการ ขยายตัวของเมืองรวมถึง
• เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง) ไปตั้งเมืองสงขลาใหม่ที่ต าบลบ่อยาง (สถานที่
ปัจจุบัน)
• เจ้าพระยาคีรี (เถี้ยนเส้ง ณ สงขลา) ได้เริ่มสร้างป้อม ก าแพงเมืองยาว 1200 เมตร และ ประตูเมือง สิบประตู
• หลังจากนั้นจึงได้วางหลักเมือง (ไม้ชัยพฤษ์พระราชทาน) และสมโภชน์หลักเมืองในปี พ.ศ. 2385
• เรียกบริเวณพื้นที่นี้ว่า “เมืองสงขลาฝั่งบ่อยาง”
• รวมเจ้าเมืองสายสกุล ณ สงขลาที่ปกครองเมืองสงขลา บ่อยาง ดังนี้ • ล าดับที่ 1. พระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง ณ สงขลา) พ.ศ. 2360 – 2390 ผู้ เริ่มสร้างเมือง สงขลาบ่อยาง
• ล าดับที่ 2. พระยาวิเชียรคีรี (บุญสัง ณ สงขลา) พ.ศ. 2390 – 2408 • ล าดับที่ 3. พระยาวิเชียรคีรี (เม่น ณ สงขลา) พ.ศ. 2408 – 2427 • ล าดับที่ 4. พระยาวิเชียรคีรี (ชุ่ม ณ สงขลา) พ.ศ. 2427 – 2431 • ล าดับที่ 5. พระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา) พ.ศ. 2431 – 2439
• รัชกาลที่ 4 ได้เสด็จราชด าเนินมายังเมืองสงขลา และได้พระราชทานเงินบางส่วนเพื่อ สร้างเจดีย์ บนยอดเขาตังกวน
• รัชกาลที่ 5 ได้ปฏิรูปการปกครองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล โดยตั้ง
มลฑลนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา
• โดยมี พระวิจิตร (ปั้น สุขุม) ลงมาเป็นข้าหลวงพิเศษว่าการมณฑลนครศรีธรรมราช ซึ่งต าแหน่งอยู่ที่เมืองสงขลาบ่อยาง
• จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2475 รัฐบาลได้เปลี่ยนแปลงการปกครองโดยยกเลิกระบบเดิม ทั้งหมด และยกระดับสงขลา ขึ้นเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย