Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงการพระราชดำริ "เขื่อนภูมิพล", เขื่อนภูมิพล-800x599 - Coggle…
โครงการพระราชดำริ
"เขื่อนภูมิพล"
วิธีสร้างเขื่อน
หลักการออกแบบเขื่อน
เสถียรภาพของตัวเขื่อน
การควบคุมการรั่วซึมของน้ำ
แรงแบกทานของชั้นหินฐานราก
ความสูงเผื่อของสันเขื่อน
การป้องกันและควบคุมการกัดเซาะจากคลื่น
การจัดการวัสดุ
ขั้นตอนในการออกแบบเขื่อน
ศึกษา สังเกตการณ์ รวบรวมข้อมูล เช่นสภาพฐานราก แหล่งวัสดุ น้ำหนักที่กระทำ
เลือกประเภทของเขื่อน
วิเคราะห์การรั่วซึมของน้ำ และออกแบบชั้นกรอง
วิเคราะห์เสถียรภาพของตัวเขื่อน
ออกแบบหน้าตัดเขื่อนขั้นสุดท้าย
พิจารณาอุปกรณ์ตรวจวัดพฤติกรรมของเขื่อนเพื่อความปลอดภัย
จัดทำแบบขั้นสุดท้ายและข้อกำหนดทางเทคนิค
นวัตกรรมนั้นเป็นอย่างไร
เป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่สำหรับกั้นทางน้ำ เพื่อใช้ในการเก็บกักน้ำและป้องกันอุทกภัยรวมถึงผลิตกระแสไฟฟ้า ส่วนบนของเขื่อนจะประกอบไปด้วยส่วนที่เรียกว่าทางน้ำล้น สำหรับให้น้ำที่สูงกว่าระดับที่ต้องการไหลผ่านมาที่ฝั่งปลายน้ำ เขื่อนมีหน้าที่ 1.กักเก็บน้ำ โดยเก็บน้ำจากช่วงฤดูน้ำหลากและปล่อยน้ำใช้ในการเกษตรกรรม อุปโภคบริโภคในช่วงขาดแคลนน้ำ 2.ใช้สำหรับป้องกันน้ำท่วมฉับพลันในฤดูที่น้ำไหลหลาก 3.ชะลอความเร็วของน้ำ ให้น้ำไหลผ่านได้เฉพาะตามปริมาณที่เหมาะสม 4.มีหน้าที่หลักอีกด้านคือการผลิตกระแสไฟฟ้า
ความเป็นมา
เขื่อนภูมิพล เป็นเขื่อนอเนกประสงค์แห่งแรกในประเทศไทย ลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตรูปโค้ง ได้รับการอนุมัติให้สำรวจและก่อสร้างในปี พ.ศ. 2496เขื่อนภูมิพลสร้างปิดกั้นลำน้ำปิงที่บริเวณเขาแก้ว อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีรัศมีความโค้ง 250 เมตร สูง 154 เมตร ยาว 486 เมตร ความกว้างของสันเขื่อน 6 เมตร อ่างเก็บน้ำสามารถรองรับน้ำได้สูงสุด 13,462 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนภูมิพลเป็นเขื่อนโค้งที่สูงเป็นอันดับ 27 ของโลก เขื่อนภูมิพลใช้งบประมาณในการก่อสร้างราว 2,000 ล้านบาท
การนำไปใช้
เพื่อนำมาบริหารจัดการให้เพียงพอ กับความต้องการในช่วงฤดูแล้ง สามารถจัดสรรน้ำเพื่อการเกษตรได้กว่า 10ล้านไร่
นอกจากนั้นน้ำที่ระบายออกจากเขื่อน ยังใช้ประโยชน์ในการรักษาระบบนิเวศ เช่น ผลักดันน้ำเค็มในพื้นที่บริเวณปากอ่าวไทย และยังเขื่อนภูมิพล