Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการนาฏศิลป์รัตนโกสินทร์ตอนต้น นาฏศิลป์,…
วิวัฒนาการนาฏศิลป์รัตนโกสินทร์ตอนต้น
1.รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรดรวบรวมตำราฟ้อนรำ และเขียนภาพท่ารำแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน รวบรวมสิ่งที่สูญหายให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น มีการพัฒนาโขนเป็นรูปแบบละครใน โดยให้ผู้แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎ หรือชฏา มีการปรับปรุงระบำสี่บท ซึ่งเป็นระบำมาตฐานตั้งแต่สุโขทัย ในสมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นมาหลายชุด เช่น ระบำเมขลา-รามสูร ในราชนิพนธ์รามเกียรติ์ :pen:
2.รัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นยุคของนาฏศิลป์ไทย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงโปรดละครรำ ท่ารำงดงามตามประณีตแบบราชสำนัก มีการฝึกหัดทั้งโขน ละครใน ละครนอกโดยได้ฝึกผู้หญิงให้แสดงละครนอกของหลวงและมีการปรับปรุงเครื่องแต่งกายยืนเครื่องแบบละครใน
สมัยนี้วรรณคดี และละครเจริญถึงขีดสุด พระองค์ทรงเปลี่ยนแปลงการแต่งกาย ให้เป็นการแต่งยืนเครื่อง แบบในละครใน ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องอิเหนา ซึ่งเป็นละครที่ได้รับการยกย่องจาก วรรณคดีสโมสร ว่าเป็นยอดของบทละครรำ คือแสดงได้ครบองค์ 5 คือ ตัวละครงาม รำงาม ร้องเพราะ พิณพาทย์เพราะ และกลอนเพราะ เมื่อปี พ.ศ.2511 ยูเนสโก ได้ถวายพระเกียรติคุณแด่พระองค์ ให้ในฐานะบุคคลสำคัญ ที่มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ระดับโลก:check:
4.รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้มีละครรำผู้หญิงในราชสำนักตามเดิมและในเอกชนมีการแสดงละครผู้หญิงและผู้ชาย ในสมัยนี้มีบรมครูทางนาฏศิลป์ ได้ชำระพิธีโขนละคร ทูลเกล้าถวายตราไว้เป็นฉบับหลวง และมีการดัดแปลงการำเบิกโรงชุดประเริงมาเป็น รำดอกไม้เงินทอง :checkered_flag:
3.รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ยกเลิกละครหลวง ทำให้นาฏศิลป์ไทยเป็นที่นิยมแพร่หลายในหมู่ประชาชน และเกิดการแสดงของเอกชนขึ้นหลายคณะ ศิลปินที่มีความสามารถได้สือทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่เป็นแบบแผนกต่อมา :<3:
-
-
-
-
-
-
-
-
สมัยนี้พระองค์ ให้ยกเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศ์ จึงพากันฝึกหัดโขนละคร คณะละครที่มีแบบแผนในเชิงฝึกหัดและแสดง ทางโขน ละครถือเป็นแบบแผนในการปฏิบัติสืบต่อมา ถึงปัจจุบันได้แก่
-
-
ได้ฟื้นฟูละครหลวง ขึ้นใหม่อนุญาตให้ราษฎรฝึกละครในได้ ซึ่งแต่เดิมละครในจะแสดงได้แต่เฉพาะในพระราชวังเท่านั้น ด้วยเหตุที่ละครแพร่หลายไปสู้ประชาชน มากขึ้น จึงมีการบัญญัติข้อห้ามในการแสดงลำครที่มิใช่ละครหลวง ดังต่อไปนี้
-
-
-
-
-
-
บุคคลสำคัญรัชกาลที่1
เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี
นายทองอยู่ แสดงเป็นตัวพระ
นายรุ่ง แสดงเป็นตัวนาง (ครูละครใน)
เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพบริรักษ์ ผู้วางรากฐานละครใน
นายทองอยู่ กับนายทองรุ่ง ผู้เชี่ยวชาญละครใน
บุคคลสำคัญรัชกาลที่2
เจ้าจอมมาดาแย้ม แสดงเป็นอิเหนา
-
-
พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ผู้แต่งบทละครนอกแบบหลวงเรื่องสังข์ศิลป์ชัย
กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ ผู้ริเริ่มงิ้วผู้หญิง
บุคคลสำคัญรัชกาลที่4
เจ้าจอมมารดาวาด แสดงเป็นอิเหนา
-
กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศ มีคณะละครโรงใหญ่
-
คณะละครของเจ้าจอมมารดาจัน
บุคคลสำคัญรัชกาลที่3
-
นายเกษ แสดงเป็นพระราม (ครผู้ฝึก)
กรมหลวงรักษ์รณเรศ ทรงมีคณะละครผู้ชายจัดแสดงเรื่องอิเหนาบทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 1
พระองค์เจ้าทินกร ทรงมีคณะละครผู้ชายและทรงแต่งบทละครนอกหลายเรื่อง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สมัยรัตนโกสินทร์ ระบำและรำมีความสำคัญต่อราชพิธีต่างๆ ในรูปแบบของพิธีกรรม โดยถือปฏิบัติเป็นกฏมณเฑียรบาลมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ( สมัยราชกาลที่1 – ราชกาลที่ 4 ) :<3:
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-