Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงงานวิทยาศาสตร์ - Coggle Diagram
โครงงานวิทยาศาสตร์
5 ขั้นตอนในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
5.1 การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องหรือปัญหาที่จะศึกษา
5.1.1 การอ่านงานวิชาต่าง
5.1.2 การสังเกตปรากฎการสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
5.1.3 การฟังและการชมรายการทางวิทยุโทรทัศน์
5.1.4 งานอิรกของนักเรียนเองหรืองานที่เป็นอาชีพเสริมของครอบครัว
5.1.5 งานที่เป็นอาชีพในท้องถิ่น
5.2 การวางแผนในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
การกำหนดปัญญาหรือที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
การกำหนดขอบเขตการศึกษา
5.3 การลงมือทำโครงงานวิทยาศาสตร์
5.4 การเขียนรายงานวิทยาศาสตร์
5.5 การแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์
5.1.6 การเข้าชมนิทรรศการหรือโครงงานวิทยาศาสตร์ที่ผู้อื่นทำไว้
5.1.7 กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน
5.1.8 การสนทนากับผู้สอน เพื่อนๆ หรือบุคคลอื่นๆ
1 ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อตอบปัญหาที่สงสัย
มีการวางแผนในการศึกษาค้นคว้าเก็บข้อมูล ดำเนินการปฎิบัติทดลองหรือประดิษฐ์คิดค้น สรุปผลด้วยตนเอง โดยมีครูผู้ให้คำปรึกษา
3 จุดมุ่งหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
เพื่อฝึกให้ผู้เรียนนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน
เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เกิดความรักและความสนใจในวิชาวิทยาศาสตร์
เพื่อส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสนใจและมีความสามารถในทางวิทยาศาสตร์ใหค้นคว้าหรือประดิษฐ์ผลงานทางวิทยาศาสตร์หรือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ และความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ พร้อมทั่งกล้านำผลงานของตนเองออกแสดง
4 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
4.1 โครงงานประเภทสำรวจเป็นกิจกรรมการศึกษาสิ่งแวดล้อมต่างๆ
ขั้นที่1)การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา เป็นการนำแนวคิดที่มาของปัญหาที่จะทำโครงงานมาเนอครูที่ปรึษา
ขั้นที่2 )การวางแผนในการทำโครงงาน เมื่อได้ปัญหาที่จะศึกษา ผู้ทำโครงงานต้องศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือและเอกสารต่างเกี่ยวกับเรื่องที่จะทำ
ขั้นที่3 )การลงมือทำโครงงาน เป็นขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้การสังเกตเป็นหลักบันทึกจากการสังเกต
ขั้นที่4 ) การเขียนรายงานโครงงาน
• การศึกษาการเจริญเติบโตของผีเสื้อ
•การศึกษาการกินอาหารของนกแก้ว
•การสำรวจคุณภาพของน้ำจากแหล่งต่างๆ
•การสำรวจหมู่เลือดของผู้เรียนระดับชั้นต่างๆ
•การสกัดกาแฟอีนจากกาแกชนิดต่างๆ
4.2.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ
4.2.2 ตัวแปรตาม
4.2.3 ตัวแปรควบคุม
4.3 โครงงานประเภทประดิษฐ์
ขั้นตอนที่1 หารูปทรงที่เหมาะสม
ตัวแปรต้น คือ รูปทรงของเครื่องฟักไข่แบบต่างๆ
ตัวแปรตาม คือ ค่าร้อยละของไข่ที่ฟักออก การประหยัดไฟ ความสะดวกของการใช้งาน
ตัวแปรควมคุม คือ ขนาดของขดลวดความร้อนเท่ากัน ไข่ที่ฟักต้องเหมือนกัน คือ มีเชื้อ และแม่พันธุ์ที่มีอายุและการเลี้ยงเหมือนกัน
ขั้นที่2 ก หาวัสดุเหมาะสมสำหรับเป็นฉนวนป้องกันการสูญเสียความร้อนของเครื่องหัก ตัวแปรต้น คือ วัสดุชนิดต่างๆ ที่ใช้เป็นฉนวน
ตัวแปรตาม คือ การเก็บรักษาอุณหภูมิ การประหยัดไฟ ค่าร้อยละของไข่ที่ฟัก ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดของขดลวดความร้อนเท่ากัน ไข่ที่ฟันต้องเหมือนกันคือแม่พันธุ์ทีทมีอายุและการเลี้ยงเหมือนกัน
4.4 โครงงานประเภททฤษฎี
•การสร้างแบบจำลองทางทฤษฎีอธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทร
•การดำรงชีวิตอยู่ในอวกาศของมนุษย์
•การดำเนินของแผ่นดินไหวในประเทศไทย
•ทฤษฎีของจำนวนและตัวเลข
•การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ
6 แนวทางการประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์
6.1 การเขียนรายงาน
6.2 การนำเสนอผลงาน
6.3การจัดบอร์ดแสดงโครงงาน
6.4ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
6.5ประโยชน์ของโครงงาน
2 หลักการสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
ผู้เรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเองตามความสนใจและระดับความรู้และความสามารถ
โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อตอบปัญหาข้อสงสัย
ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการปฎิบัติการทดลองหรือประดิษฐ์คิดค้นรวมทั้งการแปลผล สรุปผล และเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยมีครูให้คำปรึกษา
โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี