Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative…
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Theory of Cooperative or Collaborative Learning)
องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2.1) การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน (positive interdependence)
2.3) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน (individual accountability)
2.5) การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing)
2.4) การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่มย่อย (interpersonal and small-group skills)
2.2) การปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด (face-to-face promotive interaction)
3.ผลดีของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
2) มีความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนดีขึ้น (more positive relationships among students) ใส่ใจผู้อื่น มีความแตกต่าง หลากหลาย
3) มีสุขภาพจิตดีขึ้น (greater psychological healty) มีความเชื่อมั่นในตนเอง และพัฒนาทักษะทางสังคม
1) มีความพยายามที่จะบรรลุเป้ามายมากขึ้น (greater efforts to achieve) ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีผลงานมาก และการเรียนรู้มีความคงทน
แนวคิดและความเป็นมา
นักการศึกษาที่เผยแพร่แนวคิด : สลาวิน เดวิน จอห์นสัน และ รอเจอร์ จอห์สัน
เน้นความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
การเรียนรู้แบบร่วมมือคือ คือการเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยโดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกัน 3-6 คน ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม
ลักษณะปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
2) ลักษณะต่างคนต่างเรียน
3) ลักษณะร่วมมือกันหรือช่วยเหลือกันการเรียนรู้
1) ลักษณะการแข่งขัน
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน
5.1.ด้านการวางแผนการจัดการเรียนการสอน
กำหนดจุดมุ่งหมายของบทเรียนทั้งด้านความรุ้และทักษะกระบวนการ
กำหนดขนาดของกลุ่ม 3-6 คน
กำหนดองค์ประกอบของกลุ่ม
กำหนดบทบาทของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
จัดสถานที่ให้เหมาะสมในการทำงานและการมีปฏิสัมพันธ์กัน
จัดสาระ วัสดุ หรืองานที่จะให้ผู้เรียนทำ
5.2.ด้านการสอน
อธิบายชี้แจงเกี่ยวกับงานกลุ่ม
อธิบายเกณฑ์การประเมนผลงาน
อธิบายความสำคัญและวิธีการของการพึ่งพาและเกื้อกูลกัน
อธิบายวิธีการช่วยเหลือกันระหว่างกลุ่ม
อธิบายความสำคัญ วิธีการในการตรวจสอบความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับ
ชี้แจงพฤติกรรมที่คาดหวัง
5.3. ด้านการควบคุมกำกับและการช่วยเหลือลุ่ม
ดูแลให้สมาชิกกลุ่มมีการปรึกษากันอย่างใกล้ชิด
สังเกตการณ์ทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตรวจสอบ ให้แรงเสริม
เข้าไปช่วยเหลือกลุ่มตามความเหมาะสม
สรุปการเรียนรู้
5.4. ด้านการประเมินผลและวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้
ประเมินผลการเรียนรู้ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย
วิเคราะห์กระบวนการทำงานและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ
“Student Team Learning”
“Learning Together”
Group Investigation”
“Complex Instruction”
“The Structural Approach”
“The Collaborative Approach”
ประเภทของกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ
1) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ (formal cooperative learning group)
2) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการ (informal cooperative learning group)
3) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร (cooperative base groups)
นางสาวปทิตตา นิลพันธ์
สาขาหลักสูตรและการสอน แผน ก เลขที่ 04