Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท, 42546, 42541, 42540, 42539, 42545, 42544, 42543, 42542, 42532,…
ระบบประสาท
-
1 ตัวเซลล์ cell body มีลักษณะค่อนข้างกลมเป็นส่วนของไซโทพลาสซึมและนิวเคลียสมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ ไมโตคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และกอลจิคอมเพล็กซ์จำนวนมาก
-
2.1 เดนไดรต์ dendrite เป็นส่วนของเซลล์ประสาทที่ยื่นออกไป ส่วนใหญ่จะอยู่รอบๆตัวเซลล์ ทำหน้าที่รับกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะมีเดนไดรต์ ได้หลายแขนง ลักษณะที่สำคัญของ dendrite คือมี นิสเซส บอดี้ Nissl body ไมโตคอนเดรีย และมี neurofilament รวมกันเป็นมัด กระจายทั่วไป
เดนไดรต์ ต่างจากแอกซอนคือ ส่วนมากมักไม่มีปลอกหุ้มและที่ปลายมีส่าวที่ยื่นออกไปเป็นต่อมเล็กๆ spine ซึ่งเป็นที่สำหรับเชื่อมต่อกับกิ่งแอกซอนหรือเดนไดรต์ อื่นๆ ที่เรียกว่าบริเวณ synapse
2.2 แอกซอน axon เป็นใยประสาทที่นำกระแสประสาทออกจากเซลล์ เซลล์ประสาทตัวหนึ่งจะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น โดยเป็นส่าวยื่นของเซลล์ที่ยาวทำหน้าที่นำกระแสประสาท ออกจากตัวเซลล์ ภายในแอกซอน ไม่มี Nissl body และจุดที่แอกซอน axon ออกจากเซลล์ประสาทมีลักษณะนูนขึ้นเรียกว่า แอกซอน ฮิลล็อค axon hillock ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดกระแสประสาท และต่อเนื่องตลอดความยาวของแอกซอน ปลายแอกซอนจะมีแขนงแตกออกไปมีลักษณะเป็นตุ่มซึ่งจะซิแนปส์ synapse กับเซลล์ประสาทตัวอื่น ส่วนของแอกซ่อนตรงบริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้มเรียกว่า โนด ออฟแรนเวียร์ node of Ranvier
แอกซอน axon การสร้างเยื่อไมอีลินนั้น เกิดจากเซลล์ชวันน์จะมัวนตัวหลายๆ รอบ ทำให้ส่วนของเซลล์ชวันน์ที่อยู่ข้างในติดกับแอกซอนไม่มีโพรโทพลาซึม เหลือเฉพาะส่วนที่เป็นไขมันของเซลล์ชวันน์ หุ้มแอกซอนอยู่ดังนั้นเยื่อไมอีลินก็คือ เยื่อหุ้มเซลล์ชวันน์นั้นเอง จากการที่เซลล์ชวันน์พันรอบเแอกซอนซ้อนกันแน่น หลายชั้นทำให้เห็นเป็นปลอกหนาตรงรอยต่อของเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เรียกว่า โนออฟแรนเวียร์ node of ravier ซึ่งเป็นบริเวณไม่มีเยื่อหุ้มไมอีลิน
-
-
-
โคลงสร้างของระบบประสาทกลางจะอยู่ภายในช่องลำตัวด้านหลัง สมองอยู่ในช่องลำตัวด้านศรีษะและไขสันหลังอยู่ในช่องไขสันหลัง
-
-
-
Anaxonic neuron เป็นเซลล์ประสาทขนาดเล็กใยประสาทที่ยื่นออกจากตัวมี ลักษณะคล้ายกัน แยกไม่ออกว่าเป็น dendrite หรือ axon ส่วนใหญ่พบที่สมองหรืออวัยวะรับความรู้สึกพิเศษ หน้าที่ยังไม่แน่ชัด
เซลล์ประสาทขั้วเดียว Unipolar neuron มีใยประสาทที่ยื่นจาดตัวเซลล์เพียง 1 เส้น แล้วแตกออกเป็น 2 แขนง ทำหน้าที่เป็นแอกซอน และเดนไดรต์ พบได้ที่ปมประสาทด้านหลังของไขสันหลัง ปมมประสาทของประสาทสมองคู่ที่ 5 ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก sensory neuron
เซลล์ประสาทชนิดสองขั้ว Bipolar neuron มีใยประสาทที่มีส่วนที่ยื่นแยกจากตัวเซลล์ 2 ข้างคือมี 1 เดนไดรต์ dendrite และ 1 แอกซอน axon พบได้ที่เซลล์ประสาทบริเวณ เรตินาในดวงตา เซลล์รับกลิ่นในจมูกและเซลล์ของหูชั้นใน ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประประสาทรับความรู้สึก sensory neuron
เซลล์ประสาทหลายขั้ว Multipolar neuron มีใยออกจากตัวเซลล์หลายเส้น ประกอบด้วยเดนไดร์ตแตกแขนงสั้น ๆ มากมายและแอกซอนยาวเพียงเส้นเดียว พบได้ที่ เซลล์ประสาทสั่งการของสมองและไขสันหลังและเซลล์เปอร์คินเจ Purkinje cell ในซีรีเบลลัม ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาทสั่งการและเซลล์ประสาทประสานงาน motor and association neuron
-
1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก sensory neuron คือ เซลล์ประสาทที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไปยังเซลล์ประสาทสั่งการ
2 เซลล์ประสาทสั่งการ motor neuron คือ เซลล์ที่คอยส่งกระแสประสาทจาดไขสันหลัง เพื่อนำกระแสประสาทไปยัง หน่วยปฏับัติงาน มักมีใยประสาทแอกซอนที่ยาว
3 เซลล์ประสาทประสานงาน association neuron คือ เซลล์ที่เชื่อมต่อระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึก กับเซลล์ประสาทสั่งการ ใยประสาทของเซลล์ประสาทประสานงานมักจะสั้น
-
-
-
-
-
5 สัมผัสใบหน้า, การเคี้ยว
-
-
-
-
10 กล่องเสียง ช่องอก, การกลืน
-
-
-
-
-
สมอง Brain
หน้าที่ของสมองยังเกี่ยวข้องกับการรับรู้ ความจำ การเรียนรู้ การเคลื่อนไหว และความสามารถอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
มีหน้าที่ควบคุมและสั่งการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และรักษาสมดุลภายในร่างกาย เช่น การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต สมดุลของเหลวในร่างกาย
-
Cerebrum สมองใหญ่: เปลือกสมองใหญ่, แบซอลแกงเกลีย
diencephalon;ทาลามัสม, ไฮโปทาลามัส
-
-
-
การถ่ายทอดกระแสประสาท โดยรับความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไปยังสมอง และนำกระแสประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ
-
-
มีลักษณะเรียวยาว โป่งออกเป็น2 ส่วนคือส่วนคอกับส่วนนอก ส่วนปลายจเรียวแหลม ไขสันหลังต่อจาก medulla oblongata ตั้งแต่ foramen magnum ลงมาอยู่ในช่องกระดูกสันหลัง สิ้นสุดที่ส่วนเอว L1-2 โดยมีเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังหุ้มอยู่ ซึ่งด้านนอกจะเป็นสีขาวเป็นที่อยู่ของใยประสาท ด้านในสีเทาเป็นตัวของเซลล์ ด้านข้างไขสันหลังเป็นทางออกรากประสาท nerve root 31 คู่
-
เป็นระบบที่ควบคุมการทำหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของทุกระบบในร่างกายให้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน เป็นแหล่งที่มาของความคิด ความรู้สึก สติปัญญา ความฉลาดไหวพริบ การตัดสินใจ การใช้เหตุผลและแสดงอารมณ์อีกด้วย
1 ทำให้คำสั่งหรือกระแสประสาทเดินทางถ่ายทอดเป็นทางเดียวเท่านั้น ช่วยให้ระบบประสาทไปยังส่วนรับคำสั่งได้อย่างเรียบร้อยไม่ยุ่งเหยิงสับสน
2 ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ amplifying action โดยมีการรวมกัน summation หรือกระจายกระแสประสาทออก ทำให้คำสั่งนั้นแพร่กระจายกว้างขวางมากขึ้น
-
-
ไซแนปส์ Synapse เป็นรอยต่อระหว่างเซลล์ประสาท กระแสประสาทจะส่งผ่านจากตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่ง โดยส่วนของเซลล์ประสาทที่ไปเชื่อมกับตัวอื่นทางด้านแอกซอน ซึ่งบริเวณส่าวปลายนี้จะมีต่ำแหน่งในการสร้างสารเคมี neurotransmitter โดยจะปล่อยสารเคมีออกมา 2 ตัวคือ
-
-
-
-
-
ศูนย์กลางอยู่บริเวณไขสันหลัง จะทำงานในกรณีที่บุคคลตกอยู่ในสภาวะฉุกเฉิน ร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาตื่นตัวเพื่อเตรียมพร้อมที่จะสู้หรือหนีจากสถาการณเหล่านี้
ปฏิกิริยาของร่างกายที่เกิดขึ้น: ขนลุกตั้งชัน ชีพจรเต้นเร็วกว่าปกติ เหงื่อออกมาก ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หัวใจเต้นแรงและรัว
-
มีศูนย์กลางอยู่ที่ก้านสมอง medulla และไฮโปทาลามัส hypothalamus โดยระบบนี้จะทำงานควบคู่กับระบบซิมพาเธติก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-