Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัคซีนในเด็ก - Coggle Diagram
วัคซีนในเด็ก
กำหนดการให้วัคซีนปกติ
แรกเกิด
HB1
ควรให้เร็วที่สุดภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
BCG
ฉีดให้เด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล
1 เดือน
HB2
เฉพาะรายที่คลอดจากมารดาที่เป็นพาหะของไวรัสตับอักเสบบี
2 เดือน
DTP-HB-Hib1
OPV1
Rota1
ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งที่ 1 ในเด็กอายุมากกว่า 15 สัปดาห์
4 เดือน
DTP-HB-Hib2
OPV2
ให้วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด 1 เข็ม พร้อมกับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ชนิดรับประทาน 1 ครั้ง
IPV
Rota2
ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งสุดท้าย ในเด็กอายุมากกว่า 32 สัปดาห์
6 เดือน
DTP-HB-Hib3
OPV3
Rota3
ห้ามให้วัคซีนโรต้าครั้งสุดท้าย ในเด็กอายุมากกว่า 32 สัปดาห์
ให้ยกเว้นการได้รับวัคซีนโรต้าครั้งที่ 3 ในเด็กที่ได้รับวัคซีน Rotarix มาแล้ว 2 ครั้ง
9 เดือน
MMR1
หากไม่ได้ฉีดเมื่ออายุ 9 เดือน ให้รีบติดตามฉีดโดยเร็วที่สุด
1 ปี
LAJE1
1 ปี 6 เดือน
DTP4
OPV4
2 ปี 6 เดือน
LAJE2
MMR2
4 ปี
DTP5
OPV5
ประถมศึกษาปีที่ 1 (ตรวจสอบประวัติและเก็บตกวัคซีน)
เฉพาะรายที่ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์
HB
LAJE
IPV
dT
OPV
MMR
BCG
ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น
ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อเอชไอวีที่มีอาการของโรคเอดส์
ประถมศึกษาปีที่ 5
(นักเรียนหญิง)
HPV1 และ HPV2
ระยะห่างระหว่างเข็ม ห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน
กรณีเด็กหญิงไทยที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาให้ฉีดที่อายุ 11-12 ปี
ประถมศึกษาปีที่ 6
dT
การเก็บรักษาวัคซีน
วัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน (OPV)
เก็บไว้ที่อุณหภูมิ -15°C ถึง -25°C
วัคซีนเชื้อเป็นชนิดผงแห้ง ได้แก่ BCG, MMR, MR, JE และ Rota
เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C
ควรเก็บในกล่องเพื่อป้องกันแสงตลอดเวลา
วัคซีนเชื้อตาย ได้แก่ HB, DTP, DTP-HB, DTP-HB-Hib, dT, Tdap, JE, HPV, IPV, Influenza และ Rabies
เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C
น้ำยาละลายวัคซีน ห้ามแช่แข็ง
เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C และวางน้ำยาละลายวัคซีนไว้ใกล้กับวัคซีนชนิดเดียวกัน
ถาดใต้ช่องแช่แข็งไม่ควรเก็บวัคซีน และตัวทำละลายทุกชนิด แต่สามารถเก็บ Ice-pack หรือ Gel-pack ได้
ขวดวัคซีนที่เปิดใช้แล้ว ให้จัดเก็บในชั้นเหนือช่องแช่ผัก โดยจัดเก็บในกล่องหรือภาชนะที่สามารถวางขวดตั้งตรง เพื่อป้องกันการปนเปื้อน ทั้งนี้ให้เขียนข้อความระบุให้ชัดเจนว่าเป็นวัคซีนที่เปิดใช้แล้ว
กำหนดการให้วัคซีนล่าช้า
ครั้งที่ 1 เมื่อพบเด็กครั้งแรก
ช่วงอายุ 1-6 ปี
DTP-HB1, OPV1, IPV*
ข้อแนะนำ
: ให้วัคซีน IPV เก็บตกเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 7 ปี และเด็กนักเรียนชั้นป.1
MMR1
BCG*
ข้อแนะนำ
: 1.ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น
2.ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์
อายุ 7 ปี ขึ้นไป
dT1 , OPV1
MR / MMR
BCG*
ข้อแนะนำ
: 1.ให้ในกรณีที่ไม่มีหลักฐานว่าเคยได้รับเมื่อแรกเกิดและไม่มีแผลเป็น
2.ไม่ให้ในเด็กติดเชื้อ HIV ที่มีอาการของโรคเอดส์
ครั้งที่ 2 เดือนที่ 1
ช่วงอายุ 1-6 ปี
DTP-HB2, OPV2
LAJE1
อายุ 7 ปี ขึ้นไป
HB1
LAJE1
ครั้งที่่ 3 เดือนที่ 2
ช่วงอายุ 1-6 ปี
MMR2
อายุ 7 ปี ขึ้นไป
dT2 , OPV2
HB2
ครั้งที่ 4
ช่วงอายุ 1-6 ปี เดือนที่ 4
DTP-HB3, OPV3
อายุ 7 ปี ขึ้นไป เดือนที่ 7
HB3
ครั้งที่ 5 เดือนที่ 12
ช่วงอายุ 1-6 ปี
DTP4, OPV4
LAJE2
อายุ 7 ปี ขึ้นไป
dT3 , OPV3
LAJE2
หลักการให้วัคซีน
ทางที่ให้
การกิน (oral route)
ใช้ในกรณีที่ต้องการกระตุ้นภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ โดยมากใช้กับวัคซีนชนิดเชื้อเป็น เช่น วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ทําให้เกิดภูมิคุ้มกันในทางเดินหายใจด้วย
การพ่นเข้าทางจมูก
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ ทําให้เกิดภูมิคุ้มกันในทางเดินหายใจด้วย
การฉีดเข้าในหนัง (intradermal)
วิธีการนี้ใช้เมื่อต้องการลดแอนติเจนลง ทําให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ดีเพราะกระตุ้นเซลล์ในผิวหนังและดูดซึมไปยังท่อน้ำเหลือง กระตุ้นภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์ เป็นสื่อได้ดีใช้วัคซีนปริมาณน้อย เช่น วัคซีน BCG วัคซีนพิษสุนัขบ้า
การฉีดเข้าใต้หนัง (subcutaneous route)
ใช้กับวัคซีนที่ไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็วเกินไป เพราะอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง และเป็นวัคซีนที่ไม่มีสารดูดซับ (adjuvant) เช่น วัคซีนรวมหัด คางทูม และหัด เยอรมัน (MMR) วัคซีนทัยฟอยด์วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (JE)
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular route)
ใช้เมื่อต้องการให้การดูดซึมของวัคซีนดีวัคซีนที่มีสารดูดซับ (adjuvant) ต้องฉีดเข้ากล้ามเนื้อเสมอเพราะถ้าฉีดเข้าในหนังหรือใต้หนังจะทําให้เกิด การอักเสบเป็นไตแข็งเฉพาะที่ได้ เช่น วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTP) วัคซีนตับอักเสบบี (HBV) และวัคซีนพิษสุนัขบ้า
ห้ามฉีดวัคซีนที่สะโพก
ห้ามฉีดวัคซีนที่สะโพก เพราะอาจฉีดเข้าชั้นไขมันใต้หนังลงลึกไม่ถึงกล้ามเนื้อ นอกจากนี้เลือดยังไปเลี้ยงสะโพกน้อยกว่าที่ต้นแขน อีกทั้งสะโพกมีการเคลื่อนไหวน้อย ทําให้ยาดูดซึมได้ไม่ดีและจะมีผลให้การสร้างภูมิต้านทานไม่ดีด้วย และที่สําคัญคืออาจทําให้เกิด sciatic nerve injury (เดินขาเป๋ตลอดชีพ) ทําให้เกิดความพิการได้
ข้อแนะนำทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน
ในเด็กที่มีไข้หรือป่วยหนัก ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนจนกว่าจะหาย
การให้วัคซีนหลายชนิดในวันเดียวกัน วัคซีนเชื้อเป็นชนิดฉีด เช่น MMR, VZV, Live JE สามารถให้หลายชนิดในวันเดียวกันได้
แต่ถ้าไม่ให้พร้อมกันควรเว้นระยะให้ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน
ผู้ป่วยที่มีประวัติได้รับเลือด ผลิตภัณฑ์ของเลือด หรือ immunoglobulin จะกดภูมิคุ้มกันของวัคซีนชนิดเชื้อเป็น เช่น หัด หัดเยอรมัน คางทูม (measles-mumps-rubella, MMR) หรืออีสุกอีใส (varicella vaccine) ให้เลื่อนการรับวัคซีนออกไปก่อน
กรณีที่มารับวัคซีนช้ากว่าที่กำหนดให้นับจำนวนครั้งต่อจาก
ครั้งก่อน โดยไม่ต้องเริ่มต้นนับใหม่ไม่ว่าจะเว้นช่วงห่างไปนานเท่าใดการให้วัคซีนทิ้งช่วงห่างนานกว่าเวลาที่กำหนดไม่ทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลง
ถ้าระยะห่างของวัคซีนน้อยเกินไปอาจทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำกว่าที่ควรจะเป็น
การให้วัคซีนในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องอาจได้ผลไม่ได้ แต่ควรให้เพราะยังได้ประโยชน์ ห้ามให้วัคซีนเชื้อเป็นเพราะอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง
ทารกที่เกิดก่อนกำหนด ให้วัคซีนตามอายุที่แนะนำ โดยไม่ต้องปรับอายุที่เกิดก่อนกำหนด
วัคซีนป้องกันโรคเดียวกันที่ผลิตจากต่างบริษัทสามารถนำมาใช้ทดแทนกันได้
ผู้ป่วยที่แพ้ไข่ สามารถให้วัคซีนหัด หรือ MMR ได้ เนื่องจากในวัคซีนมีปริมาณ antigen ของไข่อยู่น้อยมาก