Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไอ หอบ 🗣 (ระบบหัวใจและหลอดเลือด) ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure) …
ไอ หอบ 🗣
(ระบบหัวใจและหลอดเลือด)
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart failure)
🫀🫀🫀🫀🫀🫀
ความหมาย
📝
📌📌ความหมาย เลือดและของเหลวหรือน้ำคั่งในเนื้อเยื่อจากการทำงานของหัวใจล้มเหลวทำให้การไหลเวียนไม่เพียงพอ มีอาการหอบเหนื่อยหัวใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ อ่อนเพลีย บวม
พยาธิสภาพ
🌈
💜ปัจจัยเสี่ยงต่างๆทำให้เกิดการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อหัวใจ (หลอดเลือดหัวใจอุดตัน ความดันโลหิตสูง โรคกล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ โรคลิ้นหัวใจ)
💜ทำให้สมรรถภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลงเพิ่มการกระตุ้นผนังหัวใจให้กระตุ้น RAAS และระบบประสาทซิมพาเทติค
💜เกิดผังผืดเซลล์ตายกล้ามเนื้อหัวใจหนามีการเปลี่ยนแปลงของเซลล์และโมเลกุลและกล้ามเนื้อหัวใจเป็นพิษ
💜การทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายแย่ลงเกิดโรคและการตายจากหัวใจเต้นผิดจังหวะการทำงานของหัวใจล้มเหลว
💜การทำงานของหลอดเลือดเปลี่ยนแปลงมีการคั่งของน้ำและเกลือในร่างกายเกิดหัวใจล้มเหลวมีอาการ หายใจลำบาก บวมน้ำ อ่อนเพลีย
สาเหตุ
❓
📍สาเหตุสำคัญเกิดจากโรคหลอดเลือดตีบ ความดันโลหิตสูง
🫀สาเหตุจากหัวใจ เช่น หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้าเกินไปกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคลิ้นหัวใจ หัวใจพิการแต่กำเนิด
📚สาเหตุอื่นๆ เช่น ขาดการควบคุมและดูแลในเรื่องเกลือ น้ำ เเละยา ได้รับยาที่มีฤทธิ์เป็นพิษต่อหัวใจ ภาวะติดเชื้อ การบริโภคแอลกอฮอล์มากเกินควร การทำงานของไตผิดปกติ
ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในปอด ความดันโลหิตสูง ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ ภาวะโลหิตจาง
💊รับประทานยาที่ทำให้น้ำและเกลือคั่ง หรือยาที่กดการทำงานของหัวใจ
💊รับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
🍜รับประทานอาหารเค็มเกินไป
การวินิจฉัย
👨🏻⚕️
ซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว ปัจจัยซึ่งอาจเป็นสาเหตุของโรค
-ปัจจัยเสี่ยงของโรคที่มีสาเหตุจาก atherosclerosis
-โรคหัวใจในอดีต เช่น โรคลิ้นหัวใจกล้ามเนื้อหัวใจ
-การได้รับยาหรือสารที่เป็นพิษต่อหัวใจแอลกอฮอล์ ยากลุ่ม anthracyclines, trastuzumab, cyclophosphamide, ขนาดสูงและการฉายรัวสีบริเวณ mediastinum
-โรคหัวใจในครอบครัว
-โรคทาง systemic ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวคือ collagen vascular disease, thyroid disorder
ประเมินความรุนแรงของ
ภาวะหัวใจล้มเหลว🫀
ความสามารถใสการประกอบกิจวัตรประจำวัน🍳 NYHA functional class
-ระดับที่ 1️⃣ผู้ป่วยยังทำงานได้ตามปกติไม่มีอาการขณะพัก แต่มีอาการแม้จะออกแรงเพียงเล็กน้อย
-ระดับที่ 2️⃣ผู้ป่วยทำงานตามปกติแล้วเหนื่อย ไม่มีอาการขณะพักทำงานที่เคยทำเป็นประจำได้ปกติ
แต่หากออกแรงมากกว่ากิจกรรมที่เคยทำประจำจะเหนื่อย
-ระดับที่ 3️⃣ผู้ป่วยทำงานเพียงเล็กน้อยก็เหนื่อยขณะพักไม่มีอาการ แต่เมื่อไปทำงานที่เคยทำประจำแล้วจะเหนื่อยขึ้น
-ระดับที่ 4️⃣ผู้ป่วยที่แม้ไม่ทำงานอะไรก็ยังเหนื่อย กรณีนี้ถือว่าโรคเป็นรุนแรงที่สุด ขณะนอนพักที่เตียงก็มีอาการเหนื่อย
ตรวจร่างกาย
🫁เสียงปอดผิดปกติ
บวมกดปุ่ม (Pitting edema)
น้ำในช่องท้อง (Ascitis)
หัวใจเต้นเร็ว🫀
Pulse pressure แคบ
Jugular vein distention
ตรวจพบเสียง S3 หรือ S4
ตับโต (Hepatomegaly)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ🧪🌡🧬
Complete blood count (++)💉
Urinalysis (++)
.คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead electrocardiogram)
Blood chemistry Imuri serum electrolytes, blood urea nitrogen, serum creatinine, fasting plasma glucose, lipid profile, calcium, magnesium, thyroid stimulating hormone (TSH)
Transthoracic echocardiogram with Doppler study
ภาพรังสีปอด (chest X-ray)📸
อาการและอาการแสดง
🤧🤮😷🤕
อาการแสดงของภาวะหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว
(Left sided heart failure)
😴นอนไม่หลับ ฝันร้าย วิตกกังวล
😨ภาวะไตวาย (Prerenal failure)
😤หายใจแบบชินสโตค
🤧มีอาการหอบในเวลากลางคืน
🤥หายใจลำบาก หายใจหอบในท่านอนราบ
🦠ไอเสมหะเป็นฟองขาวหรือสีชมพูหรือไอแห้งๆ
อาการแสดงของภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลว
(Right sided heart failure)
🦶🏽เท้าบวมหรือมีการบวมของอวัยวะส่วนปลาย
🤮เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
🤰🏻ท้องมาน แน่นท้อง ท้องอืด
🥴ตับโต กดเจ็บ
😩หลอดเลือดดำที่คอโป่ง
อาการ
🩸เส้นเลือดที่คอโป่งพอง
🥵อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
🏋🏻♂️อึดอัด หายใจลำบาก เมื่อออกกำลังกาย
😤หายใจลำบาก เมื่อนอนหงาย
🥱ตื่นกลางดึกเพราะไอ หรือหายใจลำบาก
🦶🏽ข้อเท้าหรือเท้าบวม
👱🏿เวียนศีรษะ หน้ามืดบ่อย
🚽เข้าห้องน้ำบ่อยตอนกลางคืน
การรักษา🩺
การรักษาด้วยยา
💊💊
กลุ่ม Beta - blockers
กลุ่ม Cardiac glycosides
กลุ่ม Angiotensin receptor blockers (ARBs)
กลุ่ม Angiotensin - converting enzyme (ACE)
inhibitors
ยากลุ่มขับปัสสาวะ (Diuretics)
กลุ่ม Nitrates
กลุ่ม Human B - type natriuretic peptide (BNP)
รักษาด้วยการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ช่วยในการทำงานของหัวใจ
การใส่บอลลูนหัวใจ
การใส่เครื่องช่วยกระตุ้นหัวใจ (Pace maker)
รักษาด้วยการผ่าตัด
✂️🔪
การผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
การผ่าตัดทำทางเบื่ยงหลอดเลือดหัวใจ
รักษาด้วยการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ควรงดสูบบุหรี่
หลีกเหลี่ยงการรับประทานเกลือและอาหารที่มีส่วนประกอบของโซเดียม
แผนการจำหน่าย (D-METHOD)
🏘
📚D: Diagnosis ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น
💊M: Medication (การรับประทานยา)
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการรับประทานยาและให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลข้างเคียงของยาในแต่ละตัว
🛌E : Environment (การจัดการกับสิ่งแวดล้อม)
ผู้ป่วยควรพักผ่อนในห้องและสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและห้องน้ำให้สะอาดมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
💆🏻♂️T : Treatment
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนเพียงพอและให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
และให้ผู้ป่วยงดกิจวัตรประจำวันหนักเกินไป
💁🏻♀️H : Heath
แนะนำให้ผู้ป่วยฝึกหายใจถูกวิธีเพื่อให้ปอดทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และออกกำลังกายที่เหมาะสมกับโรค CHF เช่น การเดินบนทางราบ
👨🏻⚕️O : Out-patent referral (การมาตรวจตามแพทย์นัด)
เน้นย้ำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ ตามนัดทุกครั้ง เพื่อติดตามอาการและการดำเนิน
ของโรค รวมถึงร่วมกันวางแผนการดูแลระหว่าง ทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและญาติ
🍜D: Diet (การรับประทานอาหาร)
แนะนำให้กินอาหารวันละ 3 มื้อกินให้ตรงเวลาไม่ควรงดมื้อใดมื้อหนึ่งควรรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ควรเน้นผักและผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง เช่นผักใบเขียว ฝรั่ง แอปเปิ้ล ส้มและควรจำกัดน้ำดื่มวันละ 800 ml
การดูแลต่อเนื่องหลังจำหน่าย
🏡
📞1.การโทรศัพท์การติดต่อสื่อสารทางโซเชียลเช่นแอพลิเคชั่นไลน์เฟสบุ๊คติดตามอาการผู้ป่วยหลังจำหน่าย 48 ชั่วโมง เป็นลดการกลับมารักษาด้วยภาวะหัวใจล้มเหลวโดยประเด็นการสื่อสาร ได้แก่ การสอบถามอาการการทวนสอบความรู้ในการดูแลตนเองการให้ความรู้เพิ่มเติมการสอบถามอาการข้างเคียงของยาและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามข้อสงสัย แต่การโทรศัพท์ติดตามยังมีข้อ จำกัด เช่นข้อมูลที่ได้อาจไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงหรือผู้ดูแลไม่สามารถประเมินสภาพจริงขอผู้ป่วยขณะพูดคุยได้ดังนั้นพยาบาลและทีมสหวิชาชีพจึงต้องมีการติดตามอาการ
🏠2.การเยี่ยมบ้าน ควรทำในผู้ป่วยที่มี ความสี่ยงปานกลางขึ้นไป 18 โดยส่งต่อหน่วย บริการปฐมภูมิ การเยี่ยมบ้านนอกจากจะได้ ประเมินผู้ป่วยแล้ว ยังสามารถประเ มิน สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย การใช้ชีวิตประจำวัน รวมถึงความสามารถและความพร้อมของผู้ดูแล เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างแพทย์ ผู้ป่วย และผู้ดูแล นำไปสู่การให้ความร่วมมือใน การรักษา และเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลระยะยาว
ข้อวินิจฉัยการทางการพยาบาล
👩🏻⚕️
ข้อที่1️⃣ เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิภาพ การทำงานของหัวใจลดลง
ข้อที่3️⃣ ไม่สุขสบายเนื่องจากหายใจลำบาก
ข้อที่2️⃣ความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการขณะทำกิจวัตรประจำวัน