Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
Gonadotrophin หรือ Gonadotrophic hormone
Prolactin หรือ Lactogenic hormone (LTH)
Growth hormone(GH) หรือ Somatotrophic hormone (STH)
Andrenocorticotrophin
Thyroid Stimulation hormone (TSH)
เอนดอร์ฟิน (endorphin )
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
Oxytocin
Vasopressin หรือ Antidiuretic hormone ( ADH )
ต่อมไพเนียล
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
เมลาโทนิน (melatonin)
ต่อมไทมัส
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
ไทโมซิน (thymosin)
สร้างภูมิคุ้มกันแบบใช้เซลล์ทีที่มาจากลิมโฟไซด์สร้างจากกระดูก
ต่อมพาราไทรอยด์
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
พาราทอร์โมน
ต่อมไทรอยด์
หน้าที่
สร้างฮอร์โมน
ไทรอยด์ฮอร์โมน
ควบคุมการเผาผลาญของระบบร่างกาย
กระตุ้นให้ระบบต่างๆของร่างกายทำงาน
ต่อมหมวกไต
หน้าที่
สร้างฮอร์โทน
อะดรีนาลิน
ควบคุมการไหลเวียนของเลือด
ตับอ่อน
หน้าที่
ปรับนำ้ตาลกลูโคสในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
สร้างฮอร์โมน
อินซูลิน
โรคที่เกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
ไทรอยด์
อาการ
ผมร่วง
นอนไม่หลับ
นำ้หนักเปลี่ยนอย่างผิดปกติ
ขับถ่ายไม่ปกติ
ใจสั่น
การรักษา
กินยา
กินไอโอดีน-131
ผ่าตัด
ปัจจัยการเกิดโรค
พันธุกรรม
การสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอฮอลล์
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
มีภาวะเครียดสูง
เบาหวาน
สาเหตุของเบาหวาน
ชนิดของเบาหาน
เบาหวานประเภทที่2
ตับอ่อนยังพอผลิตอินซูลินได้บ้าง แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
เบาหวานประเภทที่3
โรคเบาหวานชนิดอื่นที่มีสาเหตุเฉพาะ เช่น โรคตับอ่อน หรือ พันธุกรรม
เบาหวานประเภทที่1
ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
เบาหวานประเภทที่4
เป็นในช่วงของการตั้งครรถ์
อาการ
ตาพร่ามัน
หิวบ่อย
ปัสสาวะบ่อย
ผิวแห้ง
ชาบริเวณปลายเท้า
วิธีการรักษา
เบาหวานประเภทที่1
การควบคุมอาหารอย่างระมัดระวัง
การฉีดอินซูลินแบบหลายครั้งในหนึ่งวัน (MDI)
การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง
เบาหวานประเภทที่ 2
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกาย
หมั่นรับประทานและฉีดอินซูลินร่วมด้วย
อ้างอิง
https://www.pobpad.com/โรคเบาหวาน
https://www.bangkokpattayahospital.com/th/healthcare-services-th/dm-and-endocrinology-center-th/item/1798-thyroid-disorders-th.html