Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มี ภาวะเสี่่ยงอันตราย และภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกร…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มี
ภาวะเสี่่ยงอันตราย
และภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO
(ABO Incompatibility)
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการที่สมองถูกทําลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด และประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดที่ผ่านมาเกี่ยวกับการ ไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด ABO
การตรวจร่างกาย ทารกที่มีจุดเลือดออกตามตัว ตับ ม้าม พบว่าเกิดจาการติดเชื้อภายในครรภ์ อาการซีดอาจเกิดจากการแตกทําลายของเม็ดเลือด และมีก้อนโนเลือด การเจริญเติบโตช้า ความพิการแต่กําเนิดก็พบอาการตัวเหลืองได้บ่อย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจนับเม็ดเลือด นับจํานวน reticulocytes และ ตรวจลักษณะรูปร่างเม็ดเลือดแดง บนแผนสไลด์ฟิล์มเลือด
ตรวจหมู่เลือด ของมารดาและทารกแรกเกิด หากแม่มีเลือดกรุ๊ป O ลูกทารกเป็น A หรือฺ B และตัวเหลืองลูกก็อาจเป็น AO หรือ BO incompatibility ซึ่งได้
ระดับบิลิรูบินใน serum นิยมตรวจค่า Total bilirubin
Direct Coomb’s test เพื่อตรวจหา maternal antibodies Rh and ABO typing เพื่อหาสาเหตุ hemoglobin levels และ RBC counts
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่พบเพียงอาการตัวเหลือง
แนวทางการรักษา
หากอายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไป การรักษาที่ดีที่สุดคือ การกระตุ้นให้คลอด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
หมู่เลือดระบบ ABO ไม่เข้ากับมารดา
การพยาบาล
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการ ตั้งครรภ์ครั้งต่อไป รวมถึงการรักษาและพยาบาล แก่มารดาหลังคลอดและครอบครัว เพื่อให้เกิดความ เข้าใจ คลายความวิตกกังวล และให้ความร่วมมือในการรักษา
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในทารก แรกเกิดที่มีความเสี่ยงต่อ hemolytic disease เพื่อเฝ้าระวังและรายงานแพทย์ทันทีเพื่อการรักษาที่ เหมาะสมต่อไป
ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย และผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในทารก แรกเกิดที่มีความเสี่ยงต่อ hemolytic disease เพื่อเฝ้าระวังและรายงานแพทย์ทันทีเพื่อการรักษาที่ เหมาะสมต่อไป
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ ประวัติการตั้งครรภ์และคลอดที่ ผ่านมา เพื่อค้นหาความเสี่ยงของทารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ ให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวัง burn พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง และปิดตาทารกด้วย eye patches เพื่อป้องกันตาเกิดการระคายเคือง และดูแลตามแนว ปฏิบัติการพยาบาลของทารกที่ได้รับการส่องไฟ
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยพบผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
มักพบผลกระทบต่อทารกในการตั้งครรภ์ที่ 2 ทําให้ทารกเกิดภาวะ neonatal anemia, hydrops fetalis, ตับและม้ามโต,hyperbilirubinemia, kernicterus, dead fetus in uterus, still birth
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผลการตรวจ Coombs’ test ให้ผลบวกอย่างรุนแรง (strongly positive)
ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดพบ hematocrit ต่ํามาก reticulocyte count สูง
ระดับของ bilirubin สูงขึ้นอาจถึงระดับที่เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ
อาการและอาการแสดง
มี hemolysis ที่รุนแรงขณะอยู่ในครรภ์ทารกจะซีดมาก อาจเกิดหัวใจวายตัวบวมนํ้าที่ เรียกว่า hydrops fetalis
ในรายที่ไม่ตายคลอดก็จะมีปัญหาซีดมากหรือเหลืองมากจนเสียชีวิตหรือเกิด bilirubin toxicity
พยาธิสภาพ
Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา
เกิดการสร้าง antibodies ในแม่
antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies เหล่านี้จะไปจับและทําลายเม็ดเลือดแดงของทารก ทําให้ทารกมีภาวะโลหิตจาง
เกิดขึ้นเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive
ถ้ามีอาการรุนแรงอาจทําให้เกิด Hydrops fetalis ทารกจะมีภาวะบวมน้ํา และมีการไหลเวียนล้มเหลว (circulatory collapse)
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization
เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies
การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ควรตรวจ Indirect Coomb’s test อีกครั้ง เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
ควรให้คําแนะนําเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา จะช่วยลดความกลัวและ ความวิตกกังวลได้
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ชนิดของโรคธาลัสซีเมีย
. α-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทําให้มีการสร้าง α-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลยที่พบ บ่อยได้แก่ α-thalassemia 1, α-thalassemia-2, Hb H และ Hb Bart’s hydrop fetalis
β-thalassemia เป็นความผิดปกติที่ทําให้มีการสร้าง β-globin น้อยลงหรือไม่สร้างเลยที่พบ บ่อยได้แก่ β-thalassemia trait, homozygous β-thalassemia, Hb E และ β-thalassemia/Hb E
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก (thalassemia major)
เสียชีวิต ไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
บวมน้ําทั้งตัว ซีด ตับม้ามโต รกมีขนาดใหญ่
มีอาการรุนแรงภายใน 2-3 เดือนหลังคลอด
ซีด เหลือง ตับม้ามโต มี thalassemia facies กระดูกบางเปราะแตกง่ายร่างกายแคระแกร็น เจริญเติบโตไม่สมอายุ ต้องได้รับยาบํารุงเลือด และการถ่ายเลือดเป็นประจํา
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate
Hb H, α-thalassemia/Hb CS
ซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง มีการเจริญเติบโตเกือบเหมือนคน ปกติ
Hb H
ในภาวะปกติจะไม่มีอาการ แต่เมื่อมีไข้ติดเชื้อ จะทําให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย เกิดอาการซีดอย่างรวดเร็ว ถ้ารุนแรงอาจทําให้เสียชีวิตได้
อาการรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermediate
ในภาวะปกติจะไม่มีอาการ แต่เมื่อมีไข้ติดเชื้อ จะทําให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย เกิดอาการซีดอย่างรวดเร็ว ถ้ารุนแรงอาจทําให้เสียชีวิตได้
ไม่มีอาการแสดง แต่อาจมีฮีโมโกลบินต่ํากว่าปกติเล็กน้อย
ผู้ที่ทารกในครรภ์อาจเป็นธาลัสซีเมีย
คู่สามีภรรยาที่เคยมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมีย หรือคู่ สามีภรรยาที่มียีนธาลัสซีเมียพวกเดียวกัน
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีและทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำ
รายที่มี ภาวะ Hb Bart’s hydrop fetalis
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดยาก เนื่องจากทารกมีท้องบวมโต
อาจตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผลต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
น้ําหนักน้อย
ขาดออกซิเจนในระยะคลอด
ได้รับการถ่ายทอดความผิดปกติของโครโมโซม
ผู้ที่มีโอกาสเป็นพาหะของโรค
คนทั่วไปมีโอกาสจะเป็นพาหะหรือมียีนของธาลัสซีเมียชนิด ใดชนิดหนึ่ง
คนทั่วไปมีโอกาสจะเป็นพาหะหรือมียีนของธาลัสซีเมียชนิด ใดชนิดหนึ่ง
มีพี่น้องหรือญาติของผู้เป็นโรคธาลัสซีเมีย หรือพาหะของโรคธาลัสซีเมีย
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วิธีการตรวจเพื่อวินิจฉัย (diagnosis test)
การตรวจหาชนิดของฮีโมโกลบิน (hemoblobin electrophoresis)
การตรวจวิเคราะห์ยีนโดยอาศัยเทคนิค polymerase chain reaction (PCR)
การตรวจวิเคราะห์ชนิดของฮีโมโกลบิน (Hemoglobin analysis)การตรวจวิเคราะห์ชนิดของฮีโมโกลบิน (Hemoglobin analysis)
การตรวจระดับของ serum ferritin
การประเมินความเสี่ยงของคู่สมรส
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสําหรับพาหะชนิด Hb E
การทดสอบ Hb ไม่เสถียรโดยการตกตะกอนสีด้วยสี DCIP
KKU-DCIP clear kit เป็นชุดน้ํายาสําเร็จรูป
KKU-DCIP clear kit เป็นชุดน้ํายาสําเร็จรูป
การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสําหรับพาหะชนิด α-thalassemia 1 และ β-thalassemia
การตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง (mean corpuscular volume, MCV)
การตรวจวัดขนาดเม็ดเลือดแดง (mean corpuscular volume, MCV)
การทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดง (Osmotic Fragility Test, OFT)
สาเหตุ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง หมายถึง มีการเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวของ amino acid บน polypeptide chain ทําให้เกิด Hb ที่ผิดปกติ
ความผิดปกติทางปริมาณ หมายถึง มีการสร้าง globin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย โดยที่โครงสร้างของ polypeptide chain ยังปกติ ถ้าการสร้าง globin สาย alpha น้อยลง เรียกว่า α-thalassemia ถ้า globin สาย beta น้อยลง β-thalassemia
แนวทางการรักษา
การให้เลือด เพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีด และรักษาระดับฮีโมโกลบินให้สูงพอที่จะกดไขกระดูก
การให้ยาขับเหล็ก
ทางเลือกของคู่สมรสที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดที่รุนแรงคือ ไม่มีลูกของตนเอง
การตัดม้าม
.การให้ความรู้ คําแนะนําเกี่ยวกับ สาเหตุ อาการ การดําเนินของโรค การรักษา และการ ควบคุมป้องกันโรค
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การพยาบาล
ในกรณีที่ทั้งสตรีตั้งครรภ์และสามีเป็นคู่เสี่ยงของโรคธาลัสซีเมียที่อาการรุนแรง ควรแนะนํา เกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด และให้สตรีตั้งครรภ์และสามีตัดสินใจว่าจะ ดําเนินการตั้งครรภ์ต่อไปหรือยุติการตั้งครรภ์
ในกรณีที่ตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์ให้การสนับสนุนทางด้านจิตสังคมแก่สตรีตั้งครรภ์และ ครอบครัว พร้อมทั้งให้การดูแลให้ได้รับการส่งต่อ
อธิบายสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
ในกรณีที่ดําเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการ ป้องกันการติดเชื้อในระบบต่าง ๆ การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนอย่างเพียงพอ การ รับประทานยาตามแผนการรักษา การมาตรวจตามนัด และหากมีอาการผิดปกติควรมาพบแพทย์ทันที
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นพาหะของธาลัสซีเมีย และสามีเข้าใจถึงความจําเป็นในการคัด กรองหาพาหะธาลัสซีเมีย