Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานทางกฎหมาย :question: - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานทางกฎหมาย :question:
กฎเกณฑ์ความประพฤติ
กฎเกณฑ์ทางศาสนา
มารยาท
กฎ กติกา
จารีตประเพณี
ศีลธรรม
ความหมายของกฎหมาย
กฎหมายคือกฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่ใช้ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ในสังคม กฎหมาย มีลักษณะเป็นคำสั่ง ข้อห้าม ที่มาจากผู้มีอำนาจสูงสุดในสังคมใช้บังคับได้ทั่วไป ใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษหรือสภาพบังคับอย่างใดอย่างหนึ่ง
ลักษณะของกฎหมาย
มี5ลักษณะดังนี้
1.กฎหมายต้องมาจากรัฏฐาธิปัตย์
2.เป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้ทั่วไป
3.เป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไปจนกว่าจะยกเลิกหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง
4.กฎหมายเป็นข้อบังคับที่ต้องปฏิบัติตาม
5.กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
ประเภทกฎหมาย
มี5ประเภทดังนี้
1.กฎหมายมหาชน (Public Law)
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายการปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายว่าด้วยการพิจารณาความอาญา
กฎหมายว่าด้วยการพิจารณาความแพ่ง
2.กฎหมายเอกชน (Private Law)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
3.กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
4.กฎหมายสารบัญญัติ
กฎหมายอาญา
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
5.กฎหมายวิธีสบัญญัติ
ประมวลกฎหมายวิธีความอาญา
ประมวลกฎหมายวิธีความแพ่ง
ระบบกฎหมาย
ระบบกฎหมายผสมผสาน(Pluralistic System)
ระบบกฎหมายศาสนา(Religious Law System)
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี(Common Law System)
ระบบกฎหมายซีวิล ลอว์(Civil Law System )
ลำดับศักดิ์กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัตติประกอบรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
ข้อบัญญัติท้องถิ่น
ที่มากฎหมายไทย
กฎหมายที่ใช้อยู่ในประเทศต่างย่อมมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยกฎหมายที่เกิดขึ้นแล้วมีการใช้ได้ตลอดและกฎหมายย่อมจะมีการแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นบ้างตามพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนั้นๆ
การตีความกฎหมาย
การตีความกฎหมาย คือการค้นหาความหมายของกฎหมายที่มีถ้อยคําไม่ชัดเจนแน่นอน กล่าวคือ กฎหมายที่กํากวมหรือมีความหมายได้หลายทางต้องตีความเพื่อหยั่งทราบว่าถ้อยคําในบทบัญญัติของกฎหมายมีความหมายอย่างไร
การใช้กฎหมายและการตีความเป็นของคู่กัน บทกฎหมายใดเมื่อนํามาปรับเข้ากับกรณีที่เกิดขึ้นและมีข้อสงสัยว่าไม่สามารถจะใช้ปรับแก่คดีได้หรืออาจมีถ้อยคําไม่ชัดเจน ก็จําเป็นต้องตีความบทกฎหมายนั้น
กฎหมายอาญา
กฎหมายอาญา เป็นประชุมกฎหมายที่สัมพันธ์กับอาชญากรรม โดยห้ามความประพฤติที่รัฐมองว่าคุกคาม หรือเป็นภัยต่อทรัพย์สิน สุขภาพ ความปลอดภัยและศีลธรรมของประชาชน กฎหมายอาญาส่วนใหญ่ตั้งขึ้นเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร ซึ่งตราขึ้นโดยสภานิติบัญญัติ กฎหมายอาญามีบทลงโทษและการทำให้กลับคืนดีซึ่งประชาชนผู้ฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าว
กฎหมายแพ่ง
เป็นกฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างบุคคลเกี่ยวกับสถานภาพสิทธิและหน้าที่ของบุคคลตามกฎหมายเช่นกฎหมายว่าด้วยนิติกรรมเอกเทศสัญญา ทรัพย์สิน ครอบครัว มรดก แต่งงาน