Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม -…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงอันตรายและภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO (ABO Incompatibility)
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่พบทารกตัวเหลือง ภายใน 24 ชม.แรกหลังคลอด ไม่ค่อยพบอาการซีด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงสมองถูกทำลายอย่างรุนแรงจากภาวะ kernicterus
ทารกเกิดภาวะ kernicterus
มักเกิด mental retard หรือ develop paralysis or nerve deafness
พยาธิสภาพ
มารดารหมู่เลือด O มี Antigen-A และ Antigen-B ชนิด IgG มากว่าหมู่เลือด Aหรือ B
anti-B ในมารดาที่มี หมู่เลือด A หรือ subgroup A2 เป็นสาเหตุให้ทารกหมู่เลือด B เกิดภาวะเม็ดเลือดแตกง่าย
IgG1 และ IgG3 จับกับ Fc-receptor ของเซลล์ฟาโกไซต์และกระตุ้นการทำลายเม็ดเลือดแดง
ระหว่างตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงของทารกจะผ่านเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา กระตุ้นให้มารดาสร้าง antibody สามารถผ่านทางรกเข้าสู่กระแสเลือดของทารกทำปฏิกิริยากับเม็ดเลือดแดงทำให้เม็ดเลือดแดงแตก
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ระดับบิลิรูบินใน serum ตรวจนับเม็ดเลือด ตรวจหมู่เลือด และ Direct Coomb's test
2.การตรวจร่างกาย ทารมีจุดเลือดออกตามตัว ตับม้าม เกิดจากการติดเชื้อภายในครรภ์ มีก้อนเลือด เจริญเติบโตช้า พบตัวเหลืองได้
1.ซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด ประวัติการตั้งครรภ์ที่ผ่านมา
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากหมู่เลือด ABO ไม่เข้ากับมารดา
พบในทารกหมู่เลือด A หรือ B ที่เกิดจากมารดาหมู่เลือด O
แนวทางการรักษา
หากรุนแรงอาจต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดในระหว่างตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไปรักษาที่ดีที่สุด คือ การกระตุ้นให้คลอด
ทารกมีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง มักได้รับการส่องไฟ เพื่อลดระดับบินลิรูบิน
ทารกที่มีอาการรุนแรง ได้รับการดูแลในแผนกทารกแรกเกิดวิกฤติและเปลี่ยนถ่ายเลือดทันทีหลังคลอด
การพยาบาล
1.ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารกจากการซักประวัติ
2.อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
3.ติดตามภาวะ jaundice ด้วยการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
5.ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟให้วางทารกไกลแสงไฟพอประมาณ ระวังBurn พลิกตัวทุก 3-4 ชม. และปิดตาด้วย eye patches
โรคโลหิตจางจากโรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงปานกลาง ซีดปานกลาง ตับม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง เจริญเติบโตเกือบเหมือนคนปกติ เมื่อติดเชื้อจะทำให้เม็ดเลือดแตกง่าย เกิดอาการซีดรุนแรง เสียชีวิตได้
กลุ่มที่ไม่มีอาการ ได้แก่ กลุ่มที่เป็นภาหะ ไม่แสดงอาการแต่อาจมี ฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติเล็กน้อย
1.อาการรุนแรงมาก ส่วนใหญ่เสียชีวิตในครรภ์หรือไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด ทารกเจริญเติมโตช้า ตับม้ามโต ซีด เหลือง กระดูกเปราะบางแตกง่าย ให้ยาบำรุงเลือดและถ่ายเลือดเป็นประจำ
ผลกระทบต่อมารดาและทารกในครรภ์
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
โอกาสเกิดการติดเชื้อเนื่องจากความต้านทานต่ำเสี่ยงต่อการแท้ง คลอดก่อนกำหนด ความดันโลหิตสูง และอาจตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
ขาดออกซิเจนเรื้อรังส่งผลให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ำหนักน้อย หรือขาดออกซิเจนในระยะคลอด
พยาธิสภาพ
เกิดความผิดปกติของ a-globin และ B-globin ลดน้อยลงทำให้ globin ที่เหลืออยู่รวมตัวกันเองตกตะกอนอยู่ในเม็ดเลือด เม็ดเลือดแดงรูปร่างผิดปกติ มีอายุสั้น ส่งผลให้มีอาการซีด ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับม้ามโต ณุปหน้าเปลี่ยน กระดูกบางแตกง่าย
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย พบภาวะซีด ตับม้ามโต ตัวเหลือง ตาเหลือง ใบหน้าเปลี่ยนแปลง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบ Hb,Hct และจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าปกติ
การซักประวัติเกี่ยวกับโรคโลหิตจางในครอบครัว
ชนิดของธาลัสซีเมีย
a-thalassemia มีการสร้าง a-globin น้อยลง
B-thalassemia สร้าง B-globin น้อยลง
แนวทางการรักษา
การให้เลือดเพื่อป้องกันไม่ให้ซีด และรักษาระดับฮีโมดกลบินให้สูงพอที่จะกดไขกระดูก ไม่ให้สร้างเม้ดเลือดแดงมากเกินไป
การให้ยาขับเหล็ก ในรายที่ได้รับเลือดมากว่า 10-20 ครั้ง หรือ serum ferritin มากกว่า 1,000 mg
ทางเลือกของคู่สมรสที่มีอัตราเสี่ยงในการมีลูกเป็นโรคชนิดรุนแรง คือ ไม่มีลูกโดยคุมกำเนิดหรือทำหมัน ยอมเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นโรค
การตัดม้าม เกิดการกดเบียด ซีดมากและเรื้อรัง เกิดภาวะ hypersplenism ทำให้ม้ามทำลายเม็ดเลือดแดงมาก
ให้ความรู้ คำแนะนำ เกี่ยวกับ สาเหตุ อาการ กาำดำเนินของโรค การรักษาและป้องกัน
การปลูกถ่ายไขกระดูก รักษาให้หายขาดได้ แต่ใช้ไม่ได้กับทุกรายเพราะมีความเสี่ยงและค่าใช้จ่ายสูงมาก ทำในรายที่มีอาการรุนแรง
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของโครงสร้าง มีการเปี่ยนแปลงการเรียงตัวของ amino acid บน polypeptide chain ทำให้เกิด Hb ที่ผิดปกติ
2.ความผิดปกติทางปริมาณ มีการสร้าง globin สายใดสายหนึ่งลดลงหรือไม่สร้างเลย
การพยาบาล
ในกรณีที่สตรีตั้งครรภ์ตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ต้องให้การสนับสนุนด้านจิตใจ จิตสังคม
ในกรณีที่มารดาและสามีเป็นคู่เสี่ยงแนะนำให้ตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อน
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับการเกิดโรค สาเหตุ อาการ การรักษาเพื่อลดความวิตกกังวล
ในการณีที่ดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว เน้นการป้องกันการติดเชื้อในระบบต่างๆ
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับความจำเป็นในการคัดกรองพาหะธาัสซีเมีย เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการดูแลรักษา
ภาวะไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh (Rh Incompatibility)
อาการและอาการแสดง
เกิดหัวใจวายตัวบวมที่เรียกว่า hydrops fetalis และเสียชีวิตได้
เกิด bilirubin toxicity ได้
หากทารกมี hemolysis ขณะตั้งครรภ์จะซีดมาก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์ ไม่ค่อยพบผลกระทบ
ผลต่อทารก ครรภ์ที่2 เกิดภาวะ neonatal anemia, hydrops fetalis, ตับม้ามโต , hyperbilirubinemia, kernicterus, dead fetus in uterus, still birth
พยาธิสภาพ
เกิดเมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive จะผ่านเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดาทำใหเกิดการสร้าง antibodies ในแม่ จะไหลกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์จับทำลายเม็ดเลือดแดงของทารก ทำให้ทารกมีภาวะโลหิตจาง
หากอาการรุนแรงจะเกิด Hydrops fetalis ทารกบวมน้ำและมีการไหลเวียนล้มเหลว ทำให้ระดับของ bilirubin สูงขึ้น
การประเมินและการวินิจฉัย
2.การตรวจร่ากาย ทารกมีภาวะโลหิตจาง
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1 ระดับของ bilirubin สูงขึ้น
3.2 การตรวจ Coomb's test ให้ผลอย่างรุนแรง
3.3 ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดพบ hematocrit ต่ำมาก reticulocyte count สูง
1.การซักประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
การไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด Rh ของมารดาและทารกในครรภ์ Rh เป็น Antibody
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
1.ป้องกันการเกดิ Isoimmunization (Rh Isoimmunization) จะเกิดขึ้นเมื่อหญิงตั้งครภภ์มี Rh negative และทารกมี Rh positive
2.เฝ้าระวังและตรวจหา antibodies ในหญิงตั้งครรภ์
2.2 ควรตรวจ Indirect Coomb's test เมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์ หาไม่พบ antibodies ควรให้ RhoGAM เพื่อป้องกันการสร้าง antibodies
2.3 ควรให้คำแนะนำเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจถึงแผนการรักษา ช่วยลดความกลัวและความวิตกกังวล
2.1การเจาะเลือดครั้งแรกที่มาฝากครรภ์เพื่อตรวจหาหมู่เลือด Rh typing