Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบไหลเวียน Circulatory System, 1-7, iStock-641133986_(1),…
ระบบไหลเวียน
Circulatory System
หน้าที่ของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ขนส่งออกซิเจนและอาหารไปให้เซลล์ทั่วร่างกาย นำคาร์บอนไดออกไซด์ และของเสียจากเซลล์ไปขับทิ้งยังอวัยวะขับถ่าย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลย์ของกรด - ด่างภายในร่างกาย
ช่วยควบคุมระดับความสมดุลย์ของอุณหภูมิในร่างกาย
ช่วยทำลายเชื้อโรค และป้องกันเชื้อโรคโดยการสร้างภูมิคุ้มกัน (Antibodies) ให้กับร่างกาย
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอนไซม์ไปให้เซลล์เพื่อให้อวัยวะได้ทำงานตามปกติ
ป้องกันเลือดไหลไม่หยุด โดยการเกิดลิ่มเลือดอุดบาดแผล
เลือด Blood
เม็ดเลือดแดงมีลักษณะรูปกลมแบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 7 - 8 ไมครอน และ หนาประมาณ 1 -2 ไมครอน
มีลักษณะยึดหยุ่นและเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ จึงสามารถผ่านหลอดเลือดฝอยได้
มีสารประกอบของโปรตีน เรียกว่า ฮีโมโกลบิน(Hemoglobin) ซึ่งมีธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบที่สาคัญ ฮีโมโกลบินทาหน้าที่จับออกชิเจนแล้วกลายเป็นออกซี่ฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin) ช่วยขนสออกชิเจนไปยังเชลล์และนื้อมื่อส่วนตง ๆ ขอร่างทาย และนาคาร์บอนไดออกไซด็ออกจากเชลล์และเนื้อเยื่อไปสู่ปอด
โดยปกติผู้ชายจะมีฮีโมโกลบินประมาณ 16 กรัม ต่อเลือต 100 มิลลิลิตร
ผู้หญิงจะมีประมาณ 14 กรัม ต่อเลือด 100 มิลลิลิตร
ฮีโมโกลบิน 1 กรัมสามารถจับออกชิเจนได้ประมาณ 1.34 มิลลิลิตร
เม็ดเลือดแดงส่วนใหญ่สร้างมาจาก ไขกระดูกแดง (Red Bone Marrow) มีอายุประมาณ 120 วัน
จะถูกทาลายที่ตับ (Liver) และม้าม (Spleen)
ผู้ชายจะมีเม็ดเลือดแดงประมาณ 5.5-6 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1 ลบมม,
ผู้หญิงมีเม็ดเลือดแดงประมาณ 4.5 - 5 ล้านเซลล์ต่อเลือด 1 ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
ในคนปกติจะมีประมาณ 5 - 9 พันเซลล์ ต่อเลือด 1 ลบมม.
จานวนอาจเปลี่ยนแปลงตามอายุ เพศ หรือสาวะของร่างกาย เช่นมีการติดเชื้อโรค ถ้ามีปริมาณ
สูงกว่าปกดิเรียกว่า ลิวโคไซโตซีส (Leukocytosis) ถ้ามีปริมาณน้อยกว่าปกติเรียกว่า ลิวโคพีเนีย (Leukopenia) และเรียกโรคเลือดที่มีจานวนเม็ดเลือดขาวผิดปกติว่า ลิวดีเมีย (Leukemia)
เม็ดเลือดขาวถูกสร้งขึ้นมาตลอดเวลาจากไขกระดูก ต่อมน้าเหลือง ม้าม และต่อมไทมัส
มีอายุไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับชนิดของม็ดเลือดขาว บางชนิดมีอายุไม่เกิน 24 ชั่วโมง บางชนิดมีอายุ 3-12วัน และ จะถูกทาลายที่ตับ โดยขับถ่ายออกมากับอุจจาระ
เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่ทาลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสูร่างกาย ดังนั้น เมื่อมีการติดเชื้อเกิดขึ้นก็จะทาให้เม็ดเลือตขาวเพิ่มจานวนมากกว่าปกติ
องค์ประกอบของเลือด (Composition of blood)
•เลือดประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
เม็ดเลือด (Blood Cells หรือ Corpuscles) มีประมาณ 45 เปอร์เซ็นต์ของเลือดทั้งหมด ประกอบด้วย
เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell หรือ Erythrocyte)
เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell หรือ Leucocyte)
เกล็ดเลือด (Blood Platelet หรือ Thrombocyte)
ส่วนที่เป็นของเหลวเรียกว่ผลาสมา (Plasma) มีประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของเลือดทั้งหมด
เม็ดเลือดขาว
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
เม็ดเลือดชาวชนิดที่มีแกรนูล เรียกว่า แกรนูโลไซท์ (Granulocyte) มี 3 ชนิด คือ
นิวโตรฟิล (Neutrophil) เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีจานวนมากที่สุด คือ ประมาณ 60 % มีหนัาที่ทาลายเชื้อแบคทีเรีย
อีโอซีโนฟิล (Eosinophil) ประมาณ 2 - 5 % มีหนัาที่ทาลายเชื้อโรคที่ผ่านทางหลอดเลือดและท่อทางเดินอาหาร
เบโซฟิล (Basophile) เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีจานวนน้อยที่สุด ประมาณ 0.5 - 1 % มีหน้ที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาตอบสนองต่อการอักเสบ
เม็ดเลือดขาวชนิดที่ไม่มีแกรนูล เรียกว่าอะแกรนูโลไซต์ (Granulocyte) มี 2 ชนิด คือ
ลิมโพไซท์ (Lymphocyte) มีประมาณ 20 - 30 % มีหน้าที่เกี่ยวกับการตอบสนองในระบบภูมิคุ้มกัน
โมโนไซท์ (Monocyte) เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีขนาตใหญ่ที่สุด มีประมาณ 4 – 7 %
เลือดทาหน้าที่ขนส่ง O2, CO2, สารอาหาร, ของเสีย, ฮอร์โมน, และ ความร้อน
ช่วยปกป้องร่างกายโดย สารแอนติบอดี (antibodies), เม็ดเลือดขาว (leukocytes), เกร็ดเลือด (platelets)
มีบทบาทในการอักเสบ (inflammation)
ช่วยคงสมดุลของน้าในร่างกาย และ ค่าความเป็นกรดด่างของน้าในร่างกา
เกล็ดเลือด (Blood Platelet หรือ Thrombocyte)
เกล็ดเลือดมีขนาดเล็ก ไม่มีสี ไม่มีนิวเคลียส โดยปกติมีประมาณ 250,000 - 300,000 เกล็ด ต่อ 1 ลบ.มม
มีอายุประมาณ 2 - 3 วัน เกล็ดเลือดถูกสร้งขึ้นในไขกระดูกแดงจากเชลล์ที่เรียกว่า เมกาคอรีโอไซด์ (Megakaryocyte) ถูกทาลายที่ม้าม
เกล็ดเลือดมีหน้าที่สาคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือด เมื่อมีหลอดเลือดถูกทาลายเกล็ดเลือดบริเวณนั้นจะรวมตัวกันเป็นก้อน และอุดตรง บริวณหลอดเลือดที่ถูกทาลาย เพื่อป้องกันไม่ให้เลือดไหลออกมาภายนอก
พลาสมา
พลาสมาเป็นส่วนประกอบของเลือดที่นอกเหนืจากเม็ดเลือด มีลักษณะเป็นน้าหรือ ของเหลว มีสีเหลืองใส มีฤทธิ์เป็นด่างเล็กน้อย คือมีค่า PH ประมาณ 7.35 - 7.45
มีประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของเลือด
พลาสมามีหน้าที่สาคัญ คือ
ช่วยในการแข็งตัวของเลือดเพราะมี Fibrinogen
ทาให้เลือดมีความหนืด
ช่วยทาให้เกิดแรงดันออสโมติค (0smotic Pressure) ซึ่งมีบทบาทสาคัญต่อการดูดน้าไว้ในเส้นเลือด
ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันโรค ฮอร์โมน และเอนไซม์ต่าง ๆ
หัวใจ Heart
The human heart has 4 chambers
หัวใจห้องบนซ้าย(Left atrium)
•หัวใจห้องนี้จะรับเลือดที่ได้รับออกซิเจนจากปอดผ่านทางหลอดเลือดดาพัลโมนารี (pulmonary veins)
•ส่งเลือดผ่านให้หัวใจห้องล่างซ้ายทางลิ้นไมทรัล (Mitral valve)
หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle)
•หน้าที่รับเลือดจากหัวใจห้องบนขวา แล้วส่งออกไปยังปอด ผ่านลิ้นหัวใจพัลโมนารี (pulmonary valve) และหลอดเลือดแดงพัลโมนารี (pulmonary arteries)
•ที่ผนังของหัวใจจะมีแนวของกล้ามเนื้อหัวใจที่สานต่อกัน และมีเอ็นเล็กๆ เรียกว่า คอร์ดี เท็นดินี (chordae tendinae) ทาหน้าที่ยึดลิ้นหัวใจไทรคัสปิดไม่ให้ตลบขึ้นไปทางหัวใจห้องบนขวาระหว่างการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง ดังนั้นจึงป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ
หัวใจห้องบนขวา (Right atrium)
มีหน้าที่รับเลือดที่มาจากหลอดเลือดดาใหญ่
•ซุพีเรียเวนาคาวา (superior vena cava) ซึ่งรับเลือดมาจากร่างกายส่วนบน และ
•อินฟีเรียร์เวนาคาวา (Inferior vena cava) รับเลือดมาจากร่างกายช่วงล่าง
•เลือดจากหัวใจห้องบนขวาจะไหลเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวา ผ่านทางลิ้นหัวใจไทรคัสปิด (Tricuspid valve)
หัวใจห้องล่างซ้าย(Left ventricle)
•ทาหน้าที่หลักในการสูบฉีดเลือดไปยังทั่วทั้งร่างกายผ่านทางลิ้นหัวใจเอออร์ติก (Aortic valve) และหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา (Aorta)
สรีรวิทยาของหัวใจ(Physiology of the heart)
หัวใจทาหน้าที่ในการสูบฉีดเลือด (Cardiac Pumping Function) ดังต่อไปนี้คือ
สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจเพื่อไปเลี้ยงเซลล์และเนื้อเยื่อตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยการบีบตัวของหัวใจห้องล่างช้าย (Left Ventricle) ซึ่งเรียกระยะของการบีบตัวนี้ว่า ซีสโตล (Systole) ผ่านเส้นเลือดแดงใหญ่ เอออร์ตา (Aorta)
รับเลือดจากเชลล์และเนื้อเยื่อที่ใช้แล้คลับสูหัวใจห้องบนขวา (Right Atrium) เพื่อไปสู่หัวใจห้องล่างขวา (Right Ventricle) แล้วสูบฉีดเพื่อ ไปฟอกที่ปอด (แลกเปลี่ยนก๊ซระหว่างคาร์บอนไดออกไซด์กับออกซิเจน)
โครงสร้างของหัวใจ
•Epicardium (เยื่อหุ้มหัวใจชั้นใน)
•Myocardium (กล้ามเนื้อหัวใจ)
•Endocardium (เยื่อบุหัวใจ)
การควบคุมการทางานของหัวใจ
การทางานของหัวใจมีอิทธิพลมาจากปัจจัย 3 ประการ คือ
การควบคุมจากระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System) ประกอบด้วย
ประสาทซิมพาเทติด (Sympathetic) มีบทบาทควบคุมการเต้นของหัวใจให้เร็วและแรงขึ้น
ประสาทพาราซิมหาเทติด (parasympathetic) มีบทบาทควบคุมการเต้นของหัวใจให้เต้นช้าและเบาลง
การควบคุมจากระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) โดผต่อมหมวกไดชั้นใน ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ อีพิเนฟริน (Epinephrine) หรืออะดรีนาลิน (Adrenalin) กับนอร์อีพิเนฟริน (Nor - Epinephrine) หรือ นอร์ อะดรีนาลิน (Nor - Adrenalin) มีบทบาทควบคุมการเต้นของหัวใจให้เร็วและแรงขึ้น เหมือนกับประสาทซิมพาเทติด
การควบคุมจากหัวใจเอง ถ้าเลือดไหลกลับสู่หัวใจมาก หัวใจก็จะบีบเลือดออกจากหัวใจมาก
ที่ตั้ง หัวใจฐานด้านบนตั้งอยู่บริเวณซี่โครง (Rib) อันที่ 2
ส่วนปลายเรียกว่าเอเป๊กซ์ (Apex) จะชี้ลงล่างไปทาง ด้านช้าย ตั้งอยู่บวิเวณระดับแนวเส้นที่ลากจากกึ่งกลางของกระดูกไหปลาร้า ถึงช่องระหว่างซี่โครง อันที่ 5 และ 6
หัวใจอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้งสองช้าง
โดย 2 ใน 3 ส่วนของหัวใจจะอยู่ด้านซ้าย
หัวใจมีน้าหนักประมาณ 300 กรัม
ความดันโลหิต หมายถึง แรงดันที่เกิดจากหัวใจบีบตัวเพื่อสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจแล้วไป กระทบกับผนังของเส้นเลือด
ความดันโลหิตมีอยู่ 2 ระยะ คือ
ระยะที่หัวใจห้องล่าง (Ventricles) บีบตัวเพื่อส่งเลือดออกไปเรียกว่า ระยะบีบตัวหรือ ซีสโตลิก (Systolic)
ระยะที่หัวใจห้องล่างคลายตัวเรียกว่าระยะคลายตัวหรือไคแอสโตลิก (Diastolic)
เครื่องมือที่ใช้วัดความดันเลือดเรียกว่า Sphygmomanometer
หลอดเลือด Blood vessels
Blood vessels (หลอดเลือด)
Artery / Arteries (หลอดเลือดแดง)
Vein / Veins (หลอดเลือดดา)
Capillary / Capillaries (หลอดเลือดฝอย)
Blood vessels (หลอดเลือด)
Superior vena cava อ่านว่า ซุพีเรียเวนาคาวา (หลอดเลือดเวนาคาวาด้านบน)
Inferior vena cava อ่านว่า อินฟีเรียเวนาคาวา (หลอดเลือดเวนาคาวาด้านล่าง)
Aorta อ่านว่า(หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา)
31นางสาว กุลจิรา มากสาคร