Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศ…
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือแทรกซ้อนทางนริเวชกรรมและศัลยกรรม
[1]ไส้ติ่งอักเสบ(appendicitis)
1.2)อาการและอาการแสดง
เบื่อออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดท้องแบบตื้อๆ
ท้องแข็ง
1.3)ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด
1.4)การประเมินและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติ ตรวจร่างกายจากอาการและอาการแสดง
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบว่ามีเม็ดเลือดขาวสูง
3.การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง/คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การตรวจ CT scan เป็นต้น
1.5)แนวทางการรักษา
1.วินิจฉัยแยกโรคขณะตั้งครรภ์
2.หากอาการไม่รุนแรงทําการผ่าตัด laparotomy
ในไตรมาสที่ 1-2
3.พิจารณาการผ่าตัดทางหน้าท้องทํา appendectomy สําหรับสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 3
4.ให้ยาปฏิชีวนะ
5.ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
1.1)พยาธิภาพ
เกิดจากมีภาวะอุดกั้นของรูไส้ติ่ง มีเศษอุจจาระแข็งๆ เรียกว่า "นิ่วอุจจาระ" (fecalith) ชิ้นเล็กๆ
[2]ถุงน้ําดีอักเสบ (cholecystitis)
2.2)อาการและอาการแสดง
ปวดท้องที่เป็นพักๆ สลับหนักและเบา (colicky pain)
คลื่นไส้อาเจียน หลังรับประทานอาหารที่มีไขมัน
ตัวเหลืองขณะตั้งครรภ์
2.3)ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
คลอดก่อนกําหนด
2.4)การวินิจฉัย
1.ตรวจร่างกายพบ colicky sign และปวดมากบริเวณ right-upper quadrant/epigastrium
การตรวทางห้องปฏิบัติการ
2.2 ตรวจ U/A อาจพบการเพิ่มขึ้นของ WBC
2.1 ตรวจ CBC พบมีการเพิ่มของ leukocyte
3.การตรวจพิเศษอื่นๆ เช่น Radiographic diagnostic การตรวจด้วยคลื่น/เสียงความถี่สูง
2.4)การรักษา
1.NPO
2.ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
3.ดูแลให้ใส่สาย Nasogastric suctioning
4.ถ้าปวดมากดูแลให้ยาแก้ปวด
เช่น morphine ตามแผนการักษา
5.ให้ยาปฏิชีวนะกลุ่ม broad-spectrum
และ กลุ่ม ß-lactam
7.ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
6.ยาระงับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
2.1)พยาธิสภาพ
เกิดแรงดันและกดเบียดทําให้การไหลเวียน และระบายของถุงน้ําดี ทำให้ความยืดหยุ่นในถุงน้ําดีลดลง มีการหนาตัวของท่อน้ําดี
[3]ภาวะลําไส้อุดกั้น(bowelobstruction)
3.1)อาการและอาการแสดง
1.ท้องผูก(constipation) ถ่ายยากถ่ายลําบากถ่ายไม่ออก
2.ปวดเกร็งแน่นท้อง
3.อาเจียน
4.ปวดเสียดหรือปวดบิดเป็นพัก ๆ
3.2)ข้อวินิจฉัย
1.การตรวจร่างกาย พบอาการปวดเมื่อคลําทางหน้าท้อง
2.ซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงเช่นอาการปวดบิดท้องเป็นพักๆ ประวัติท้องผูก คลื่นไส้และอาเจียน เป็นต้น
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น WBC, electrolyte,X-Ray, MRI เป็นต้น
3.3)ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
มดลูกหดรัดตัวก่อนกําหนด
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ําและอิเล็กโตรไลท์
ปัญหาเกี่ยวกับไต
ภาวะปริมาตรเลือดต่ำจากการเสียเลือด
อาจทำให้ช็อก และเสียชีวิตได้
3.4)ผลกระทบต่อทารก
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกําหนด
แรกคลอดน้ําหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
3.5)การรักษา
1.งดอาหารและน้ํา (NPO)
2.ใส่สาย Nasogastric tube เพื่อการระบาย gastric content
3.ดูแลการให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
4.ดูแลการให้ยาปฏิชีวนะ
5.ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทางรกในครรภ์
โดยใส่เครื่อง EFM
6.ให้ออกซิเจน 4 lit/min
7.พิจารณาการผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศ์
8.ติดตามการเกิดซ้ำของภาวะลําไส้อุดกั้น ในไตรมาสที่สาม
[4]ถุงน้ํารังไข่ (ovarian cyst)
4.1)อาการและอาการแสดง
1.ปวดบริเวณปีกมดลูกและรังไข่ สัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
2.อาจพบภาวะท้องมานน้ํา
3.ระยะคลอดพบว่ามีการคลอดยาก
4.2)การวินิจฉัย
1.ซักประวัติเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
2.การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจ MRI เป็นต้น
4.3)ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
คลอดยาก
4.4)การรักษา
1.การผ่าตัดโดยการส่องกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic)
2.ส่งชิ้นเนื้อที่ผ่าตัดออกมา เพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
เจาะเลือดส่งตรวจค่ามะเร็ง CA-125
4.หากวินิจฉัยล่าช้าและก้อนยังใหญ่ไม่มาก สามารถดําเนินต่อไปจนครบกําหนดคลอด
[5]เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
(myoma uteri)
5.1)อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดท้องสัมพันธ์กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
อาจพบเลือดออกขณะตั้งครรภ์
พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
คลําท่าทารกได้ยาก
5.2)การวินิจฉัย
1.พบขนาดของมดลูกโตกว่าอายุครรภ์คลําท่าทารกได้ไม่ชัดเจน
2.ซักประวัติ พบมีเลือดออกทางช่องคลอด มีอาการปวดท้องที่ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก
3.การตรวจพิเศษ เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง การตรวจ MRI เป็นต้น
5.3)ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
การแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ตกเลือดหลังคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ปวดท้องรุนแรง
ระยะคลอด
คลอดยาก
ระยะหลังคลอด
การหดรัดตัวกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี
ตกเลือดหลังคลอด
5.4) การรักษา
1.การผ่าตัดด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Laparoscopic myomectomy) GA 12-14 weeks / ไม่เกิน 18 weeks
2.ตัดชิ้นเนื้อที่ได้จากการผ่าตัดเพื่อนำไปวินิจฉัยต่อไป
3.หากก้อนยังใหญ่ไม่มาก ไม่มีความเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และทารกในครรภ์สามารถดําเนินต่อไป
[6]การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการผ่าตัด
(nursingcareamongpregnancywithsurgery)
6.2)การพยาบาลก่อนผ่าตัด
1.งดอาหารและน้ําทางปาก (NPO)
2.ฟัง FHS ทุก 1-2 ชั่วโมง
3.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 1-2 ชั่วโมง
4.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ด้วยการ On EFM
5.เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะผ่าตัด
6.ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
7.ดูแลให้ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ
6.1)การประเมินทางการพยาบาล
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ การฟังเสียง FHR การบันทึกการดิ้นของทารก การตรวจ NST
5.การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
6.3) การพยาบาลขณะผ่าตัด
1.จัดท่านอนหงายศีรษะสูงเล็กน้อย กึ่งตะแคงซ้าย
2.ดูแลการให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
3.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยการติดเครื่อง EFM
6.4)การดูแลหลังการผ่าตัด
1.ให้การพยาบาลเหมือนผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป
2.สังเกตและเฝ้าระวังภาวะ preterm labor
3.ประเมินและบันทึก FHS โดยการติดเครื่อง EFM อย่างต่อเนื่อง
4.ดูแลการให้ได้รับยา tocolysis
6.5)การพยาบาลเมื่อจําหน่ายกลับบ้าน
1.ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลตนเองขณะกลับบ้าน
2.การนับลูกดิ้น
3.สังเกตอาการผิดปกติ
[7]การได้รับอุบัติเหตุและบาดเจ็บ
(trauma during pregnancy)
7.1)ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
เสี่ยงต่อการแท้ง
มดลูกหดรัดตัวก่อนกำหนด
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
7.2)ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์ได้รับบาดเจ็บ
ทารกตายในครรภ์
ทารกตายคลอด
7.3)Immediate care
1.การประเมินและวินิจฉัย การให้ยา และการช่วยฟื้นคืนชีพ
2.ช่วยชีวิตมารดาเป็นอันดับแรก เนื่องจากอัตราการอยู่รอดของทารกในครรภ์จะขึ้นอยู่กับการ รอดชีวิตของมารดา
3.ทําการประเมินอย่างรวดเร็ว ปลอดภัย ครบถ้วนสมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ
7.4) Minor trauma
1.ประเมินอาการมีเลือดออก
2.ประเมินอาการปวดท้อง
3.ประเมินอาการช็อคจากการเสียเลือด
4.ประเมิน FHS และประเมินการของทารกดิ้น
5.สังเกตการแตกของน้ำคร่ำ
7.5) Major trauma
1.ให้การช่วยฟื้นคืนชีพแบบ ABCs
2.ควรมีการประเมินสภาพร่างกายทั่วไปตามระบบต่างๆ
3.ควรประสานงานและทํางานแบบสหวิชาชีพ ร่วมกับแพทย์หลายสาขา
4.ให้การดูแลตามกระบวนการเศร้าโศกและสูญเสีย
5.แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติ
[8] การช่วยฟื้นคืนชีพสตรีตั้งครรภ์ (pregnancy resuscitation)
8.1)การตอบสนองขั้นแรก
(Firstresponder)
1.แจ้ง maternal cardiac arrest team
2.บันทึกเวลาที่เริ่มเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น
3 จัดท่านอน supine
4 เริ่มทําการ chest compressions
8.2) การตอบสนองขั้นต่อมา
(Subsequentresponders)
1.การปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือมารดา
{1.1}ดูแลและช่วยเหลือในการช็อตไฟฟ้าทันที
{1.2}ดูแลให้ได้รับชนิดยา ขนาด ปริมาณและวิถีทางที่ให้ยาถูกต้อง
{1.3}ดูแลให้ได้รับออกซิเจนทางท่อทางเดินหายใจ
{1.4}ดูแลให้ได้รับการติด Monitor waveform capnography
{1.5}ดูแลและประเมินให้กระบวนการ CPR
{1.6}ให้ IV fluid เหนือ diaphargm
{1.7}ดูแลการได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
{1.8}ดูแลและจัดการให้ท่อทางเดินหายใจโล่ง
2.การปฏิบัติการพยาบาลทางสูติศาสตร์
{2.1}นวดหัวใจด้วยมือ โดยจัดให้มดลูกเลื่อนขึ้นไปด้านบนซ้ายของลําตัว
2.2) ถอดสายมอนิเตอร์ออกก่อน
3.การเตรียมพร้อมเพื่อผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องกรณีฉุกเฉิน
3.1)หลังการช่วยฟื้นคืนชีพนาน 4 นาที และไม่พบสัญญาณชีพ
ให้ทําการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องทันที
3.2) ทำคลอดภายใน 5 นาที นับจากเวลาที่เริ่มช่วยฟื้นคืนชีพ
8.3)ค้นหาและดูแลรักษาปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น(BEAU-CHOPS)
ระวังภาวะการมีเลือดออก
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันหลอดเลือดที่ปอด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาระงับความรู้สึก
ภาวะมดลูกไม่หดรัดตัว
อาจเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด