Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุริยะ, download, 1-6, image, images, outer planets, unnamed, kuiper…
ระบบสุริยะ
:black_flag:
กำเนิดระบบสุริยะ
:black_flag:
1.ระบบสุริยะเกิดจากเนบิวลาสุริยะ ประกอบด้วยฝุ่นและแก๊ส ซึ่งแก๊สส่วนใหญ่เป็นไฮโดรเจน ฮีเลียม และธาตุหนักต่างๆ ทั้งนี้มวงของเนบิวลาสุริยะจะรวมกันเป็นดวงอาทิตย์ก่อนเกิด ที่บริเวณศูนย์กลางของระบบสุริยะและมีวิวัฒนาการต่อมาเป็นดวงอาิทตย์ ส่วนที่เหลือจากการรวมตัวเป็นดวงอาทิตย์และรวมตัวเป็นจานกำเนิดดาวเคราะห์ที่หมุนเวียนรอบดวงอาทิตย์ :star:
2.จานกำเนิดดาวเคราะห์ประกอบฝุ่นและแก๊สซึ่งประกอบด้วยฝุ่นและแก๊สที่เหลทอจากการรวมตัวกันของดวงอทิตย์ กระจายรอบดวงอาทิตย์ สสารที่มีจุดหลอมเหลวสูงจะอยู่ในบริเวณใกล้ดวงอาทิตย์ สสารที่มีจุดหลอมเหลงต่ำจะอยู่ไกลดวงอาทิตย์ :star:
4.สสารที่เหลือจากการก่อตัวของดาวเคราะห์ชั้นใน ถูกรบกวนจากแรงโน้มถ่วงจากดาวพฤหัสบดี ทำให้ไม่สามารถก่อตัสวเป็นดาวเคราะห์ได้ จึงเกิดเป็น
แถบดาวเคราะห์น้อย
โคจรรอบดวงอาทิตย์ บริเวณระหว่างวงโคจรดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี :star:
3.บริเวณจานกำเนิดดาวเคราะห์ใกล้ดวงอาทิตย์ ฝุ่น แก๊ส และสารประกอบธาตุหนักจะควบแน่นเป็นของแหลวและของเเข็งตามลำดับ โดยสสารนี้จะเกิดการชนและรวมตัวกันเรียกว่าการ
พอกพูนมวล
:star:
เกิดเป็น
วัตถุดาวเคราะห์
พอกพูนมวล
ดาวเคราะห์ก่อนเกิด
พอกพูนมวล
ดาวเคราะห์หิน
คือดาวเคราะห์ชั้นใน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร
5.จานกำเนิดดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิต่ำ สสารที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ เช่น ไฮโดรเจน ฮีเลียม มีเทน ฯลฯ รวมถึงฝุ่น ค่อยๆรวมตัวเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ที่มีแกนเป็นของแข็ง เรียกว่า
ดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส
ได้แก่ ดาวพฤหัส และดาวเสาร์ ส่วนสสารที่ไกลออกไป รวมตัวเป็นดาวที่มีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ยักษ์แก๊ส เรียกว่า
ดาวเคราะห์ยักษ์น้ำแข็ง
ได้แก่ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน :star:
6.จานกำเนิดดาวเคราห์ชั้นนอกที่อยู่ไกลออกไป ประกอบด้วยสสารดั้งเดิมของเนบิวลาสุริยะที่ไม่ได้ก่อตัวเป็นดาวเคราะห์ จะกระจายตัวอยู่บริเวณถัดจากวงโคจรของดาวเนปจูน เรียกว่า
แถบไคเปอร์
ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดดาวหางคาบสั้น ถัดจากแถบไคเปอร์เรียกว่า
ดงดาวหาง
หรือ
เมฆของออร์ต
ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดดาวหางคาบยาว :star:
:star:
จากกระบวนการเกิดระบบสุริยะทั้ง 6 ขั้นข้างต้น
แสดงให้เห็นว่าดวงอาทิตย์และบริวารต่างๆ กำเนิดมาจากเนบิวลาสุริยะ จึงมีธาตุประกอบส่วนใหญ่คล้ายกัน แต่อาจมีสัดส่วนแตกต่างกันไป จากตำแหน่งที่เกิด ลักษณะการเกิด และสัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบที่แตกต่างกัน นักดาราศาสตร์จึงแบ่งเขต พื้นที่รอบดวงอาทิตย์ออกเป็น 4 เขต คือ ดาวเคราะห์ชั้นใน แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ชั้นนอก และแถบไคเปอร์กับดงดาวหาง :star:
:black_flag:
เนบิวลาสุริยะ
:black_flag:
:star:เกิดจกาการรวมตัวของ
สสารดั้งเดิมและสสารรุ่นใหม่
:star:จะก่อตัวเป็นดวงอาทิตย์และ
จานกำเนิดดาวเคราะห์
แบ่งเป็นดาวเคราะห์ชั้นนอก และดาวเคราะห์ชั้นใน โดยจานกำเนิดดาวเคราะห์จะพัฒนาต่อไปเป็นบริวารของดวงอาทิตย์
:black_flag:
โครงสร้างของดวงอาทิตย์
:black_flag:
สามารถศึกษาได้จาก
คลื่นไหวสะเทือนดวงอาทิตย์ (Helioseismology)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
:star:
โครงสร้างภายใน
เขตการแผ่รังสี (Radiation zone)
เป็นชั้นที่ถัดจากแก่น
อุณหภูมิ 2.5 ล้านเคลวิน
ความหนากว่าชั้นอื่น
การถ่ายโอนพลังงานระหว่างแก่นและเขตการแผ่รังสี "
ใช้เวลานานนับแสนปี
"
เขตการพาความร้อน (Convection zone)
เป็นชั้นนอกสุด
เกิดจากการพาพลังงานจากเขตแผ่รังสี ออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์
มีการหมุนเวียนของพลาสมาเป็น "
วงจรการพาความร้อน
"
แก่น (Core)
เป็นชั้นในสุด
อุณหภูมิ 15 ล้านเคลวิน
ความหนาแน่นสูง
เกิด "
ปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์
" ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของดวงอาทิตย์
:star:
ชั้นบรรยากาศ
Photosphere
หรือทรงกลมแสง
ชั้นในสุด
อุณหภูมิประมาณ 5,800 เคลวิน
หนาประมาณ 400 กิโลเมตร
ประกอบด้วยแก๊สร้อน ซึ่งเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
เป็นบริเวณที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า โดยใช้ "
แผ่นกรองแสงสุริยะ
" ทุกครั้ง
Corona
ชั้นนอกสุด
"
ความหนาแน่นน้อยกว่า
" โครโมสเฟียร์ สามารถแผ่กระจายออกไปไกลมาก
อุณหภูมิประมาณ 1-2 ล้านเคลวิน
คนบนโลกจะเห็นได้เฉพาะขณะเกิด "
สุริยุปราคาเต็มดวง
"
Chromosphere
หรือทรงกลมสี
ชั้นที่ห่อหุ้มโฟโตสเฟียร์ไว้
อุณหภูมิ 10,00-100,000 เคลวิน
หนาประมาณ 1,700 กิโลเมตร
"
ความหนาแน่นน้อยกว่า
" โฟโตสเฟียร์
:black_flag:
ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์
:black_flag:
2.
ลมสุริยะและพายุสุริยะ
:star:
ลมสุริยะ (Solar wind)
มีความเร็วประมาณ 200-900 Km/s
ดวงอาทิตย์ปล่อยพลังงานในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
และยังได้
ปล่อยอนุภาคมีประจุไฟฟ้าพลังงานสูง
ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโปรตอนและอิเล็กตรอน
ผลกระทบ
1)ส่งผลต่อสนามแม่เหล็กและชั้นบรรยากาศโลก
2)ทำให้หางของดาวหางชี้ไปด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์
3)ทำให้แก๊สในบรรยากาศแตกตัวเป็นไอออนและนำไฟฟ้า จึงเกิด
แสงเหนือแสงใต้
ขึ้น ส่วนใหญ่จะเกิดในประเทศแถบใกล้ขั้วแม่เหล็กโลก
พายุสุริยะ (Solar storm)
คือ ลมสุริยะที่มีความเร็วมากกว่า 1,000 Km/s
เกิดจากปรากฏการณ์ลุกจ้า และอาจมี
การพ่นมวลคอโรนา
ร่วมด้วย เกิดขึ้นบ่อยครั้งเมื่อมีจุดมืดดวงอาทิตย์มาก
1.
จุดมืดดวงอาทิตย์ (Sunspot)
:star:
อยู่บริเวณบนชั้นโฟโตสเฟียร์ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบและมีความเข้มของสนามแม่เหล็กสูงกว่าบริเวณอื่น
มีอุณหภูมิประมาณ 4,300 K ในขณะที่อุณหภูมิผิวของดวงอาทิตย์มีค่าประมาณ 5,800 K จึงเกิดการแผ่รังสีน้อยกว่า ทำให้เห็นสีคล้ำ
จุดมืดดวงอาทิตย์เกิดเป็นกลุ่ม โดยจำนวนจุดมืดจะเปลี่ยนแปลงเป็นคาบประมาณ 11 ปี เรียกว่า
วัฏจักรจุดมืด
(Sunspot cycle)
เมื่อเกิดจุดมืดมักจะเกิด 1)เปลวสุริยะ (Prominence) 2)การลุกจ้า (Solar flare) 3)พายุสุริยะ (Solar storm)
พายุสุริยะ
ลมสุริยะ
จุดมืดดวงอาทิตย์