Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ, 4951A97E-AB99-4895-8557-8BA4BFD754A8, EE726ADF-30C2-4FB2…
ระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมพาราไทรอยด์
หน้าที่
ผลิตฮอร์โมนพาราทอร์โมน ควบคุมการสร้างกระดูกและสมดุลแคลเซียม
ความสำคัญ
ปรับสมดุลแคลเซียมในร่างกาย
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
หน้าที่
เก็บฮอร์โมนที่ผลิตจากไฮโปทาลามัส ได้แก่ 0xytocin ADH
ความสำคัญ
เก็บฮอร์โมนและหลั่งฮอร์โมน
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
หน้าที่
ทำงานอยู่ภายใต้การควบคุมของไฮโปทาลามัส ผลิตฮอร์โมน 7 ชนิด ได้แก่ ACTH MSH GH PRL FSH LH TSH
ความสำคัญ
กำหนดปริมาณของฮอร์โมนหลายชนิดในร่างกายให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม
ต่อมหมวกไต
ความสำคัญ
ผลิตฮอร์โมนที่ตอบสนองต่อความเครียด
หน้าที่
ผลิตฮอร์โมนทีตอบสนองต่อความเครียด ได้แก่ อัลโดสเตอโรน คอร์ติซอล อะดรีนาลีน
ต่อมไพเนียล
หน้าที่
ผลิตสารเมลาโทนิน ยับยั้งการเจริญเติบโตของต่อมเพศก่อนวัยหนุ่มสาว
ความสำคัญ
ควบคุมการนอนหลับ เกี่ยวกับนาฬิกาชีวิตของร่ายกาย
ต่อมไอส์เอตออฟแลงเกอร์ฮานส์
หน้าที่
ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน ปรับระดับน้ำตาลกลูโคสในเลือด
ความสำคัญ
ช่วยให้น้ำตาลในเลือดกลับเข้าไปในเซลล์และรวมกันเป็นไกลโคเจนสะสมไว้ที่ตับและกล้ามเนื้อ
โรคที่เกี่ยวข้องกับต่อมไร้ท่อ
โรคเบาหวาน
อาการ
ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ อ่อนเพลีย น้ำหนักลด หิวบ่อย คันตามตัว เป็นเชื้อรา ตกขาวบ่อย ตาพร่า ปลายมือปลายเท้าชา
ปัจจัยการเกิดโรค
เซลล์ต่อมไร้ท่อของตับอ่อนทำงานผิดปกติ(ต่อมไอส์เอตออฟแลงเกอร์ฮานส์) ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ ระดับน้ำตาลในเลือดจึงสูงจนเกิดเป็นเบาหวาน ร่างกายขาดฮอร์โมนอินซูลิน การขาดอินซูลินมีทั้งประเภทที่ไม่สามารถผลิตได้เลยกับผลิตได้ไม่เพียงพอ สาเหตุเกิดจากกรรมพันธุ์ น้ำหนักตัวมาก อายุมาก โรคเกี่ยวกับตับอ่อน ความเครียด การตั้งครรภ์
แนวทางการรักษาและป้องกัน
ออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก รับประทานข้าวกล้อง ทานอาหารห้าหมู่
โรคไทรอยด์
อาการ
เหนื่อย ใจสั่น ขี้ร้อน น้ำหนักลด เหงื่อออกเยอะ ประจำเดือนน้อย บางรายผิวหนังเป็นปื้น ตาโปน แขนขาลีบ
ปัจจัยการเกิดโรค
ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ โดยผลิตฮอร์โมนมากเกินไปหรือน้อยเกินไป ทำให้ส่งผลต่อการเผาผลาญ
แนวทางการรักษาและป้องกัน
กินยาต้านไทรอยด์ กลืนน้ำแร่ไอโอดีน ผ่าตัดต่อมไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
หน้าที่
ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ กระดูก สมอง ระบบประสาท ควบคุมเมตาบอลิซึมในร่างกาย
ความสำคัญ
กระตุ้นให้อวัยวะต่างๆทำงาน
ต่อมไทมัส
หน้าที่
ผลิตฮอร์โมนไทโมซิน กระตุ้นเม็ดเลือดขาว สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
ความสำคัญ
ทำให้เม็ดเลือดขาวชนิด T cell เติบโตอย่างสมบูรณ์
นภัสนันท์ พันธุ์วิชาติกุล ม.5/3 25