Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ, นางสาวศิรินทิพย์ อินตา เลขที่ 79…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ( Congeital heart diseases)
ชนิดของหัวใจพิการแต่กำเนิด
ชนิดเขียว (Cyanotic heart diseases)
tetralogy of Fallot (TOF) : อาการเเละอาการแสดง >มีอาการเขียงทั่วร่างกาย อาจจะเขียวชัดเจนช่วง 3-6เดือน จะเขียงเวลาร้องไห้ ภาวะขนาดออกซิเจน อย่างรุนแรงและเฉียบพลัน จะมีอาการหายใจเร็ว แรง เหนื่อยหอบมากขึ้น
transposition of the great arteries (TGA) :อาการและอาการแสดง : ทารกจะมีอาการ เขียวมากตั้งแต่แรกเกิดหรือภายใน 2-3วัน หลังเกิด ต่อมาจะมีอาการหอบเหนื่อย มี อาการของหัวใจวาย
การรักษา : 1.ให้ยาในทารกแรกเกิดที่เขียวมาก 2.ผ่าตัดย้ายเส้นเลือด
ชนิดไม่เขียว (Acyanotic heart diseases)
antrial septum defect (ASD) ผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว
อาการและอาการเเสดง : ส่วนใหญ่มักจะไม่เเสดงอาการผิดปกติมาก แต่ถ้ามีรูรั่วมีขนาดใหญ่จะทำให้ทารกมีภาวะหัวใจวาย ฟังเสียงหัวใจได้เสียง murmur หอบเหนื่อย เขียวขณะร้อง หรือดูดนม
การรักษา : อาจปิดได้เอง ส่วนที่มีขนาดใหญ่จะทำการผ่าตัดได้เมื่ออายุ 2-5 ปี ผ่าตัดแบบเย็บปิดรูรั่ว
Ventricular septum defect (VSD) : ผนังกั้นหัวใจห้องล่างรั่ว
การไหลลัดวงจรของเลืดจากซ้ายไปขวา
อาการ : มีรูรั่วขนาดเล็ก มักไม่แสดงอาการ แต่หากรูขนาดใหญ่ทารกจะหอบเหนื่อย หายใจเร็ว เหงื่อออกมาก โดยเฉพาะเวลาดูดนม ทารกมี นน.ตัวเพิ่มขึ้นช้ากว่าปกติ
การรักษา : ถ้ามีรูรั่วขนาดเล็กมักจะปิดได้เอง หากมีรูขนาดใหญ่จะมีอาการหัวใจวาย มักจะใช้ยาเพื่อลดอาการดังกล่าว หากอาการไม่ดีขึ้นต้องผ่าตัดแก้ไขอาการ
Patent ductus arteriosus (PDA) : มีหลิดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ทำให้เกิดการติดต่อระหว่าง pulmonary และ descending aorta ภายหลังคลอดจะปิดอย่างถาวรภายใน 10-15 ชั่วโมงหลังคลอดและจะปิดอย่างถาวรภายใน 10-21วันหลังคลอด ถ้าductus arteriosus อยู่เกิน 3 เดือนจะเกิด PDA
Coarctation of the aorta (COA) : การรักษา ผ่าตัดแก้ไขก่อนอายุ 2 ปี เช่น การตัดต่อใหม่ปะปะขยายตัวด้วยวัสดุสังเคราะห์ หรือใช้เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขนตัดตลบลงมาปะส่วนที่ตีบ
การประเมินร่างกาย
การซักประวัติ
อาการเจ็บหน้าอก
การทำกิจกรรม
อาการหน้ามืด เป็นลม
การเจริญเติบโต เช่น นน.ไม่เพิ่ม สส.ไม่เพิ่ม
หัวใจหอบเหนื่อยเวลากิน
เวลากินมีเหงื่อออกมากกว่าปกติ
ไม่สุขสบาย ร้องไห้งอแง
มีอาการปวดบริเวณหน้าอก
การตรวจร่างกาย
มีอาการเขียว ตัวเล็ก เหงื่อออกมาก หายใจเร็ว
ร่างกายเจริญเติบโตไม่เหมือนคนอื่น
มีอาการเขียว ปีกจมูกบาน ริมฝีปากเขียว
หัวใจโต ดูได้จากการ x-ray
การฟังเสียงผิดปกติของหัวใจ ฟังจาก ลิ้นหัวใจรั่ว หลอดเลือดใหญ่ และโครงสร้างหัวใจอื่นๆ
สังเกตอาการนิ้วบุ๋ม เกิดจากการขาดออกซิเจน
vital signs
Heart rate : หัวใจเต้นเร็ว ในกรณีไม่มีไข้หรือความเครียด
Tacehypnea : หายใจเร็วขณะพัก
การวินิจฉัย
Chrst x-ray : ดูอาการผิดปกติของอวัยวะต่างๆ
EKG or ECG : บอกความผิดปกติของการนำกระแสไฟฟ้าของหัวใจ
Echo-cardiogram : ดูหาความผิดปกติ structures มีรูรั่ว รอยรั่ว หลอดเลือดผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำหัตถการ : ติดเชื้อบริเวณที่ทำ หัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะขาดออกซิเจน เเพ้สารทึบแสง คลื่นไส้อาเจียนหลังได้รับยาสลบ เลือดอออกบริเวณที่สอดสายสวน
โรคหวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง (Acquired Heart Diseases)
Rheumatic heart disease (RHD) :โรคหัวใจรูห์มาติค
การลิ้นหัวใจรั่วจากเป็นโรคไย้รูห์มาติกนำมาก่อนตำแหน่งที่พบบ่อยได้แก่ ลิ้นหัวใจไมตรัลและลิ้นหัวใจเอออร์ติค
สาเหตุ : มักเกิดหารติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน เช่น คออักเสบ หรือต่อมทอนซิลอักเสบ
อาการ : ไข้ ปวดข้อ 38.4 - 40 องศา , Abdominal pain : พบในไข้รูมาติคที่มีหัวใจอักเสบและหัวใจวายร่วมด้วยเป็นผลมาจาก Liver enlargement , Epistxis จากการใช้ยา Salicylate
Kawasaki disease เจอบ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เป็นกลุ่มอาการของโรคที่มีการอักเสบของหลอดเลือด เป็นในชายมากกว่าหญิง
หลักการวินิจฉัย
1.อาการไข้ ไข้สูงอยู่นาน 1-2 Wks.
2.มือและเท้าจะเจ็บบวมแดงและลอก
3.ผื่นบริเวณลำตัวและแขนขาใน 5 วันแรก
4.ตาแดง และไม่มีขี้ตาและไม่เจ็บ
5.ริมฝีปากแดง เยื่อบุช่องปากแดง มี strawberry tongue
6.ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต แดง ปวด มักโตกว่า 1.5 ซม. และเป็นข้างเดียว
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยโรค : มีไข้ร่วมกับอาการอื่นๆอีก 4 ข้อ ถ้าไม่ครบ แต่ตรวจพบ coronary aneurysm ก็สามารถวินิจฉัย
Kawasaki disease
ภาวะแรกซ้อน : เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ลิ้นหัวใจอักเสบ ทำให้ลิ้นหัวใจรั่ว และหลอดเลือดแดงอักเสบหลอดเลือดแดงโปร่งพอง
การรักษา : ให้ immnogloblin ขนาดสูง ร่วมกับแอสไพริน โดยรักษาภายใน10วันหลังจากเริ่มมีไข้
อาการ : ไข้สูง เยื่อบุตาอักเสบ ลิ้นสตอเบอรี่ อาการบวมน้ำ ฝ่ามือและฝ่าเท้าแดง ต่อมน้ำเหลืองโต
การพยาบาลผู็ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
หัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจลำบาก
Orthopnea
tachypnea
ไอมีเสมหะสีชมพู
หายใจเหนื่อยหอบ
หัวใจซีกขวาวาย
หน้าบวม
ตาบวม
ปวดอืดแน่นท้อง
แขนขาเย็น บวม
มีน้ำช่องท้อง
การรักษา
ให้ยากลุ่ม Digitalis:เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ
ให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ จำกัดกิจกรรมของผูู็ป่วย
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
Low sodium diet
วัดสัญญาณชีพ
Record I/O
การดูแลเด็กที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ
การดูแลทั่วไป
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
วัคซีน
การออกกำลังกาย : เล่นเหมือนเด็กทั่วไป เหนื่อยก็ขอให้หยุด
การป้องกันการติดเชื้อที่หัวใจ : รักษาร่างกายให้เเข็งแรง เมื่อเป็นหวัดให้รักษาให้หายโดยเร็ว
อาหาร
ปริมาณ : ไม่มาก,ไม่น้อยเกินไป
อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง
ไม่ปล่อยให้หิวมาก ควรให้นมทุก 3 ชม.
ดูดนมทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง
หากดูดนมแม่แล้วเหนื่อย ให้แม่บีบนมแล้วใช้ขวดนมป้อน
หากหายใจเร็วมากไม่ควรให้ดูดด
การส่งเริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยและครอบครัว
การดูแลสุขภาพอนามัยที่ดี โดยเฉพาะช่องปาก
ภาวะโภชนาการที่สมบูรณ์
การเจริญเติบโตและพัฒนาการที่สมวัย
ระวังการติดเชื้อของระบบหายใจ ป้องกันการติดเชื้อทางผิวหนัง
ส่งเสริมความสัมพันธ์และเกิดเครือข่ายในกลุ่มผู้ป่วยและญาติ
นางสาวศิรินทิพย์ อินตา เลขที่ 79 รหัสนักศึกษา 62120301079