Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการในความเสมอภาคและเท่าเทียมกันของมนุษย์ ในหลักการนี้ มาจากการตระหนักที่ว่ามนุษย์มีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ที่ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามกฎหมายซึ่งมีการรองรับไว้โดยทั่วโลกให้การยอมรับ โดยมีสิทธิในการได้รับการศึกษา (Rights to educations) ที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อย่างน้อยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าคนนั้นจะเป็นชนชาติไหน หรือกลุ่มชาติพันธุ์อะไร ย่อมได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค เท่าเทียมกัน (Rights to Ethnic and indigenous peoples)(สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2559 :2-3) ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ได้กำหนดไว้ในมาตรา 11(1) ว่า บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับผลประโยชน์ การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล และมาตรา 14(1) บุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาบันประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิ ได้รับสิทธิประโยชน์การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ ความสามารถ ในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบ (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2550 : 1-2)
หลักการที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของพ่อแม่ ซึ่งเออร์บาช (Arerbach. 1968) ได้ให้
หลักการการให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง จากหลักการนี้
ศึกษาปรัชญา หลักการ และจุดหมายของหลักสูตร เพื่อทำความเข้าใจกับแนวทางการพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพโดยยึดเด็กเป็นสำคัญ
ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อให้เป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กปฐมวัยให้สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยและการเรียนรู้อย่างมีความสุข
อบรมเลี้ยงดูและจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กอย่างเหมาะสมกับวัย โดยดูจากสาระการเรียนรู้และการจัดประสบการณ์
ติดตามประเมินพัฒนาการทุกด้านของเด็ก โดยสังเกตและบันทึกการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามช่วงอายุที่กำหนด รวมถึงการเฝ้าระวังปัญหาพัฒนาการที่ล่าช้าหรือความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก ถ้าพบว่าเด็กมีพัฒนาการช้ากว่าปกติ ควรปรึกษาแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อช่วยเหลือเด็กต่อไป
ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก เด็กแต่ละคนมีพัฒนาการ เร็ว ช้า ต่างกัน พ่อ แม่ หรือผู้ดูแลไม่ควรเปรียบเทียบกับเด็กอื่น หรือเลือกปฏิบัติต่อเด็กเฉพาะคน แต่ควรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านที่บกพร่องหรือด้านที่เด็กขาดโอกาสในการเรียนรู้
บุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความต้องการ ความต้องการมีอิทธิพลหรือ
ความต้องการของบุคคลเป็นลำดับชั้น เรียงตามความสำคัญจาก
เมื่อความต้องการลำดับต่ำได้รับการสนอบตอบอย่างดีแล้ว บุคคล
ครอบครัวคู่สามีภรรยาที่ยังไม่มีบุตร
ครอบครัวที่มีเด็กอายุไม่เกิน 3 ปี
ครอบครัวที่มีเด็กวัยก่อนเรียน (3 – 6 ปี)
ครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน (6 – 13 ปี)
ครอบครัวที่มีเด็กเข้าสู่วัยรุ่น (13 – 20 ปี)
ครอบครัวที่มีบุตรเริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ (20 ปี ขึ้นไป)
ครอบครัวที่มีบุตรเริ่มแยกครอบครัว
ครอบครัวที่มีบุตรเริ่มแยกครอบครัวออกไปหมด
ครอบครัวที่เกษียณ หรือ หยุดทำงาน หรือ คู่สามีภรรยาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต
ครอบครัวที่คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่เสียชีวิต
ครอบครัวระหว่างตั้งครรภ์
ครอบครัวในระยะคลอดบุตร
ครอบครัวที่มีเด็กอ่อน (0 – 1 เดือน)
ครอบครัวที่มีเด็กวัยทารก (1 เดือน – 1 ปี)
ครอบครัวที่มีเด็กวัยเตาะแตะและวัยก่อนเรียน (2 – 5 ปี)
ครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน (6 – 12 ปี)
ครอบครัวที่มีเด็กวัยรุ่น (13 – 19 ปี)
ครอบครัวที่มีผู้ใหญ่ระยะเริ่มต้น (20 – 44 ปี)
ครอบครัวที่มีผู้ใหญ่วัยกลาง (45 – 65 ปี)
ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุ (65 ปีขึ้นไป)
ทฤษฎีการสร้างความสัมพันธ์ (Relationship-building Theory) ได้มีความพยายามในส่วนของสถานศึกษาที่จะทำให้ผู้ปกครองรู้สึกว่าได้รับการต้อนรับและได้รับการเชิญชวนให้มีส่วนร่วมในด้านต่างๆ ของสถานศึกษา
ทฤษฎีผู้ปกครองเป็นผู้ช่วย (Parent Assistance Theory) โดยกระตุ้น
ทฤษฎีการเป็นหุ้นส่วน (Partnership Theory) บนรากฐานของความ
แบบฝึกหัดท้ายบท