Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช
ทฤษฎีทีใช้ทางสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
พยาบาลจิตเวชมีแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
มนุษย์ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจและสังคม (Bio-psycho-social)
มนุษย์มีส่วนที่เข้มแข็งและอ่อนแอ
มนุษย์ทุกคนต้องการการยอมรับ
การสื่อสารและการสร้างสัมพันธภาพเป็นสิ่งสำคัญ
พฤติกรรมของผู้รับบริการต้องได้รับความสนใจ
การปรับตัวเป็นสิ่งเรียนรู้ได้
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการที่มีคุณภาพเป็นประโยชน์
ทฤษฎีทางจิตเวชศาสตร์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory)
1.1 แนวคิดหลักของทฤษฎี
1.1.1 ระดับของจิตใจ (Level of mind)
1) ระดับจิตสำนึก
(The conscious level)
2) ระดับจิตกึ่งสำนึก (The subconscious or preconscious level)
3) ระดับจิตไร้สำนึก
(The unconscious level)
1.1.2 โครงสร้างของจิต
(The structure of mind)
1) สัญชาตญาณ (Id)
2) ตัวตนแห่งบุคคล (Ego or Self)
3) มโนธรรม (Superego)
3.1) มโนธรรม (Conscience)
3.2) อุดมคติแห่งตน (Ego ideal)
1.1.3 สัญชาตญาณ (Instinct)
1) สัญชาตญาณทางเพศ (Sexual instinct or Life instinct or Libido)
2) สัญชาตญาณความก้าวร้าว (Aggressive instinct or Death instinct or Mortido)
1.1.4 กลไกทางจิต (Defense mechanism)
1) การยับยั้งหรือการระงับ (Suppression)
2) การเก็บกด (Repression)
3) การปฏิเสธความจริง (Denial)
4) การปรับตัวโดยหาสิ่งอื่นมาแทนที่ (Substitution)
4.1) การชดเชย (Compensation)
4.2) การทดแทน (Sublimation)
5) การย้ายอารมณ์หรือการหาสิ่งมาทดแทน (Displacement)
6) การหาเหตุผลเข้าข้างตัวเอง (Rationalization)
6.1) องุ่นเปรี้ยว (Sour grape)
6.2) มะนาวหวาน (Sweet lemon)
7) การกล่าวโทษผู้อื่นหรือการโยนบาป (Projection)
8) การโทษตัวเอง (Introjection)
9) การอาศัยบารมีหรือการเลียนแบบ (Identification)
10) ปฏิกิริยากลบเกลื่อนหรือการแสดงปฏิกิริยาตรงกันข้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction formation)
11) การติดยึด (Fixation)
12) พฤติกรรมถอยหลังหรือการถดถอย (Regression)
13) การจินตนาการ (Fantasy)
14) การถ่ายโทษ (Undoing)
1.2 การเกิดพฤติกรรมแปรปรวนตามแนวคิดจิตวิเคราะห์
1.3 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการบําบัดทาง จิตเวช
1.4 แนวคิดการบําบัด
1.5 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการพยาบาล : เจ็บป่วยทางจิตเกิดจากพลังของจิตไร้สํานึกที่อยู่ในจิต ใจของมนุษย์
ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอีริคสัน (Psychosocial development) : เชื่อว่าวัยแรกของชีวิตเป็นวัยที่เป็นรากฐานเบื้องต้น และวัยต่อ ๆมาก็สร้างจากรากฐานนี
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship theory) : ซุลลิแวนเชื่อว่า ประสบการณ์ชีวิตในวัยต้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อสุขภาพจิตของบุ คคลในวัยหลังของชีวิต ประสบการณ์ที่สําคัญก็คือ “ความวิตกกังวล” ซึ่งได้รับจากการเลี้ยงดูในวัยเด็กและสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ทฤษฎีทางชีววิทยา
5.1 แนวคิดหลักของทฤษฎีชีวภาพทางการแพทย์
5.1.1 บุคคลมีความแปรปรวนทางด้านอารมณ์และจิตใจ
5.1.2 สาเหตุการเจ็บป่วย เชื่อว่าเกิดจากความผิดปกติของการทํางานของสมอง
5.1.3 ความเจ็บป่วยจะมีลักษณะของโรคและมีอาการแ สดงที่สามารถนํามาใช้เป็นข้อมูลในการ วินิจฉัยและจําแนกโรคได้
5.1.4 โรคทางจิตเวชมีการดําเนินโรคที่แน่นอนแล ะสามารถพยากรณ์โรคได้
5.1.5 โรคทางจิตเวชสามารถรักษาได้โดยการรักษา แบบฝ่ายกาย
5.1.6 แนวความคิดที่ว่าโรคจิตมีสาเหตุมาจากปัจจัยทางชีวภาพ ช่วยลดความรู้สึกเป็นตราบาป
5.2 สาเหตุของความผิดปกติทางจิต
5.2.1 พันธุกรรม (Genetic)
5.2.2 สารสื่อประสาท (Neurotransmitters)
5.2.3 ความผิดปกติของโครงสร้างและการทํางานของสมอง
5.2.4 พัฒนาการของเซลล์ประสาท (Neural development)
5.3 การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
4.1 ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
4.2 ทฤษฎีบุคลิกภาพ
4.3 แนวคิดที่สําคัญ
4.3.1 การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
4.3.2 การวางเงื่อนไขแบบลงมือกระทํา
4.3.3 การเรียนรู้ทางสังคม
4.4 ธรรมชาติของการเสริมแรง
รางวัลมีความหมายได้ 2 อย่าง
1) การให้สิ่งเร้าทางบวก
ให้คําชม ให้ความสนใจ ให้ขนม
2) การระงับสิ่งเร้าทางลบ
ปิดวิทยุที่รบกวนการ อ่านหนังสือ หยุดนินทา หยุดบ่น
การลงโทษมี 2 ชนิด
1) ให้สิ่งเร้าทางลบ
การตี การผูกมัด
2) การงดสิ่งเร้าทางบวก
งดการออกไปร่วมกิจกรรมที่ชอบ
6.1 ทฤษฎีกลุ่มอัตถิภาวะนิยม (Existential Theory)
6.2 ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม
ทฤษฎีลําดับขั้นความต้องการพื้นฐานของมาสโลว
ขั้นที่1 ความต้องการทางด้านร่างกาย
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรัก และความเป็นเจ้าของ
ขั้นที่ 4 ความต้องการการได้รับการยกย่องนับถือ
ขั้นที่ 5 ความต้องการที่จะเข้าใจประจักษ์ตนเองอย่างแท้จริง
ทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว
1.1 มโนทัศน์หลักทางการพยาบาล
1.1.1 คน คือ บุคคล
1.1.2 สิ่งแวดล้อม
1.1.3 สุขภาพ
1.1.4 การพยาบาล
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
2.1 กระบวนทัศน์หลักเกี่ยวกับทฤษฎี
การดูแลตนเอง
2.1.4 การพยาบาล
2.1.1 บุคคล : มีความสามารถในการเรียนรู้ วางแผนจัดระเบียบปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับตนเองได้ และมีลักษณะเป็นองค์รวม
2.1.2 สุขภาพ : เป็นภาวะที่มีความสมบูรณ์ ไม่บกพร่อง
2.1.3 สิ่งแวดล้อม
2.2 มโนทัศน์หลักในทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม
2.2.1 ทฤษฎีการดูแลตนเอง (The theory of self - care)
2.2.1.1 การดูแลตนเอง
2.2.1.2 ความสามารถในการดูแลตนเอง
2.2.1.3 ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด
2.2.2 ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเอง (The theory of self – care deficit)
2.2.3 ทฤษฎีระบบการพยาบาล (The theory of nursing system)
2.3 วิธีการให้ความช่วยเหลือตามทฤษฎีการดูแลตนเอง
2.3.1 การกระทําให้หรือกระทําแทน
2.3.2 การชี้แนะให้แนวทาง
2.3.3 การสนับสนุน
2.3.3 การสนับสนุน
2.3.5 การจัดสิ่งแวดล้อม
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Roy’ s Adaptation model)
เชื่อว่า บุคคลเป็นระบบการปรับตัวที่เป็นองค์รวม (Holistic adaptive system) ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การสื่อสารปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อม โดยรับสิ่งนําเข้า (Input) จากสิ่งแวดล้อม
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการพยาบาลในการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช
4.1 ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม : เน้นที่ความพร่องในการดูแลตนเองซึ่งเป็นทฤษฎีที่สําคัญสําหรับการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
4.1 ทฤษฎีการพยาบาลของโอเร็ม : เน้นที่ความพร่องในการดูแลตนเองซึ่งเป็นทฤษฎีที่สําคัญสําหรับการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
4.3 ทฤษฎีการปรับตัวของรอย : ที่เชื่อว่าบุคคลเป็นสิ่งมีชีวิตมีระบบ กลไกในการเผชิญเพื่อการปรับตัวต่อสิ่งกระตุ้นทั้งภายนอกและภายใน