Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด หลักการทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
บทที่ 2 แนวคิด หลักการทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช
กระบวนการพยาบาลทางจิตเวช
1.การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวช
1.1 การสัมภาษณ์ทางจิตเวช (Psychiatric interview) การสัมภาษณ์ทางจิตเวช คือวิธีการในการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยเพื่อนำมาวิเคราะห์สาเหตุ หรือปัญหาทางจิตเวช
1.2 การซักประวัติทางจิตเวช (Psychiatric history – taking)
1.2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วย(Identification of the paient)
1.2.2 เหตุผลในการมาโรงพยาบาล(Referal reason)
1.2.3 การชี้แจงเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ (Information regarding the interview)
1.2.4 ลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย(Personal description)
1.2.5 อาการสำคัญ (Chief complaint)
1.2.6 ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (History of present illness)
1.2.7 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (History of past illness)
1.2.8 ประวัติการเจ็บป่วยทางกาย
1.2.9 ประวัติสุขภาพโดยทั่วไป
1.2.10 การซักถามเกี่ยวกับระบบต่างๆ ของร่างกาย (review of systems)
1.2.11 ประวัติครอบครัว (Family history)
1.2.12 ประวัติส่วนตัว (Personal history)
1.4.สรุปความเป็นมาของปัญหาจิตใจ
การที่วิเคราะห์สาเหตุสำคัญ ต่างๆ ที่ทำให้ผู้ป่วย มีปัญหาหรือเป็นโรคจิตเวช ได้แก่ สาเหตุทางชีวภาพ ทางจิตใจและทางสังคมประกอบด้วยสาเหตุในอดีต เกี่ยวกับพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตั้งแต่วัยเด็ก ตลอดจนสภาพแวดล้อมต่างๆ
1.3.การตรวจสภาพจิต
1.3.1. ลักษณะทั่วไป (General appearance) ได้แก่รูปร่าง ท่าทาง ตลอดจนการแต่งกายและพฤติกรรมของผู้ป่วย ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลง ระหว่างการตรวจด้วย
1.3.2. การพูดและกระแสคำพูด (Speech and stream of talk) ได้แก่
2.1 อัตราการพูด(rate)
2.2 จังหวะ(rhythm)
2.3 ความดัง(volume)
2.4 ความผิดปกติของคำพูด ได้แก่ คำพูดที่แปลกใหม่ที่ผู้อื่นไม่รู้ความหมาย (neologism)
2.5 กระแสคําพูด (stream of talk) ความผิดปกติ ได้แก่ การพูดที่ไม่สมเหตุสมผล (illogical
อารมณ์ (Emotion)
การรับรู้(Perception)
ความคิด (Though process)
การรับรู้สภาวะตนเองและสิ่งแวดล้อม (Sensorium)ได้แก่การ
ตรวจความรู้สึกตัว (consciousness) การรู้เวลาสถานที่และบุคคล (orientation) ความจํา (memory)
การควบคุมอารมณ์และการแสดงออก(Impulse control)
การตัดสินใจ (Judgement) ตรวจการตดัสินใจของผปู้่วยวา่ เหมาะสมหรือไม่ประกอบด้วยเหตุผลอย่างไร
การหยั่งรู้ตนเองและแรงจูงใจ(Insight and motivation) คือการที่ผู้ป่วยสามารถเข้าใจและยอมรับตนว่ามีปัญหาหรือป่วยด้วยโรคทาง
จิตใจ มีความพยายามในการค้นหาสาเหตุและวธิีการบำบัดรักษา
การใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม (Moral rasoning) ไดแ้ก่การไม่ทำความชั่วและการทำความดี
3.การวางแผนการพยาบาลผู้ที่มีปัญหาทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
3.1. การเรียงลำดับความสำคัญของปัญหา (priorities)
มีการตั้งเป้าหมาย (Setting goals) เป็นเป้าหมายระยะสั้น (short-term goals) และเป้าหมายระยะยาว (long-term goals
4.การปฏิบัติการพยาบาลผู้ที่มีปัญหาทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การให้การปรึกษา (Counseling)
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด(Milieu Therapy)
กิจกรรมการดูแลตนเอง (Self – care Activities)
กิจกรรมทางจิตชีวภาพ (Psychobiological Interventions)
การสอนสุขภาพจิตศึกษา ( Mental Health Teaching)
5.การประเมินผลผู้ที่มีปัญหาทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
Formative evaluation เป็นการประเมินผลตามเกณฑ์การประเมินผลที่กำหนดไวใ้นการวาง
แผนการพยาบาลว่าเป็นอยา่งไร
Summative evaluation เป็นการสรุปการดูแลของพยาบาลเพื่อเป็นการหาแนวทางในการดูแลให้
เหมาะสมในอนาคตแก่ผู้ป่วย
การประเมินทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช