Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 2 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาล
อาการทางจิตเวช (Psychiatric symptomatology)
1.Consciousness เป็นภาวะรู้สึกตัว (State of awareness)
1.ความผิดปกติของสติสัมปชัญญะ (Disturbances of consciousness)
1.1 Coma
เป็นสภาวะซึ่งผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกเหลืออยู่
1.2 Stupor
เป็นสภาวะที่ผู้ป่วยขาดความสนใจ และขาดปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่งแวดล้อม
1.3Drowsiness
เป็นสภาวะซึ่งผู้ป่วยไม่ค่อยรู้สึกตัว
1.4 Confusion
เป็นสภาวะซึ่งความสนใจและการรับรู้ต่อเหตุการณ์รอบ ๆ ตนเองเลวลง
1.5 Delirium
เป็นสภาวะที่สับสน
1.6 Fluctuation of consciousness
เป็นสภาวะที่สติสัมปชัญญะของผู้ป่วยไม่คงที่
1.2 ความผิดปกติในความตั้งใจ (Disturbance of attention)
1 Distractibility ความไม่สามารถที่จะตั้งใจสมาธิได้
2 Selective inattention คือการไม่มีสมาธิเฉพาะในสิ่งที่ทำให้เกิดความกังวล
3 ความผิดปกติเกี่ยวกับการคล้อยตาม (Disturbances in suggestibility) ได้แก่
3.1 Folie a deux (Folic a trois) คือ สภาวะซึ่งคน 2 คน ที่ใกล้ชิดกันมาก (มักจะเป็นคนใน
ครอบครัวเดียวกัน) มีความหลงผิดเหมือนกัน
3.2 Hypnosis คือ สภาวะซึ่งยอมรับการชักจูงง่ายขึ้น ผู้ถูกสะกดจิตจะกระทำตามคำสั่งของผู้
สะกดจิต เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับความรู้สึกตัวของผู้ถูกสะกดจิตนั้น อันเป็นผลมาจากการกระทำ
บางอย่างของผู้สะกดจิต
2. Emotion
2.1 ความผิดปกติของอารมณ์ (Disturbances in affect)
1.Inappropriate affect
เป็นการแสดงออกของอารมณ์ซึ่งไม่เหมาะสม ผู้ป่วยจะแสดง
อารมณ์ไม่สอดคล้องกับความคิด และเหตุการณ์ในขณะนั้น
2.Pleasurable affect
1) Euphoria คือ ความรู้สึกสบายมากเกินกว่าที่ควรจะเป็น
2) Elation
อารมณ์เป็นสุขที่มากกว่า Euphoria ผู้ป่วยแสดงอกกโดย ยิ้มแป้น รื่นเริง พบใน
ผู้ป่วย Mania
3.Unpleasurable affects
1) Depression ความรู้สึกเสียใจ เศร้า เปล่าเปลี่ยวท้อแท้ หมดหวัง 2) Grief or mourning ความเศร้าซึ่งได้สัดส่วนกับการสูญเสีย พบได้ในคนปกติ
4.Other affect
1) Anxiety ความรู้สึกไม่สบาย อึดอัด ตึงเครียด หรือกลัวอันตราย
2) Fear ความกังวล กลัวที่มีสาเหตุภายนอกชัดเจน
3) Agitation ความวิตกกังวลร่วมกับอาการกระวนกระวาย 4) Panic เป็นอาการคล้าย Anxiety แต่มีความรุนแรงมากกว่า เป็นอารมณ์วิตกกังวล หรือ
กลัวอย่างสุดขีดและเฉียบพลัน
5) Phobia
เป็นความวิตกกังวลหรือความกลัวสภาวะใดสภาวะหนึ่ง วัตถุใด วัตถุหนึ่ง
6) Apathy or Flat affect
คือ การไม่มีความรู้สึก
7) Ambivalence
การมีอารมณ์ตรงกันข้ามที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน
8) Irritability
ผู้ป่วยมีอารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่ายกว่าธรรมดา
9) Depersonalization
เป็นความรู้สึกว่าตนเองได้สูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง
10) Derealization
ความรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไป
11) Aggression
คือการก้าวร้าว ต่อต้าน หรือทำตรงข้ามกับความเห็น
12) Impulsive
คือ อารมณ์รุนแรง ซึ่งควบคุมไม่ได้
13) Mood swing
คือ อารมณ์เปลี่ยนแปลงไปมาง่าย
14) Emotional lability
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่ายและควบคุมไม่ได้
15) La belle indifference
เป็นอารมณ์ที่ไม่เอาใจใส
16) Ecstasy
เป็นความรู้สึกหลุดพ้นไปจากสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
3. Motor behavior
1.Echopraxia (Automatic obedience)
การกระทำตามโดยไม่ตั้งใจ เมื่อเห็นผู้อื่นกระทำ
2.Waxy flexibility
เป็นการคงอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเป็นเวลานานเกิดขึ้น เพราะถูกชักจูงให้กระทำ
3.Catalepsy (Posturing)
ผู้ป่วยจะคงอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งของการเคลื่อนไหวที่กำลังกระทำอยู่ โดย
ที่การกระทำนั้นยังไม่สิ้นสุดลง
4.Automatism
เป็นการกระทำซ้ำ ๆ โดยไม่รู้ตัวและไม่ได้ตั้งใจ เกิดจากแรงผลักดันของจิตใต้
สำนึก พบใน Catatonia schizophrenia
5.Cataplexy
ผู้ป่วยจะมีอาการกล้ามเนื้อที่อยู่ในอำนาจจิตใจอ่อนแรงไปทันทีทันใดทั้งแขน ขา คอ
ทำให้ไม่อาจเคลื่อนไหวร่างกายได
6.Stereotypy
เป็นการกระทำซ้ำ ๆ อย่างสม่ำเสมอในพฤติกรรมอย่างหนึ่ง และเป็น เรื่อย ๆ โดย
ไม่สามารถจบลงได้ แสดงให้เห็นวิถีทางความประพฤต
7. Negativism
ผู้ป่วยมีความรู้สึกต่อต้าน และทำสิ่งตรงข้ามคำสั่ง เช่น บอกให้ผู้ป่วยคลายมือออก
ผู้ป่วยกลับกำแน่นขึ้น
8.Mannerisms
เป็น Stereotyped involuntary movements แสดงในรูปแบบของพฤติกรรม
อย่างใดอย่างหนึ่ง อาการมักเกิดที่ใบหน้าและคอ
9.Overactivity
9.1 Hyperactivity (Hyperkinesis)
การขยันขันแข็งผิดปกติ
9.2 Tic
การเคลื่อนไหวในลักษณะกระตุกซ้ำ ๆ
4. ความคิด (Thought)
4.1 ความผิดปกติของกระแสความคิดหรือกระบวนการคิด (Disturbances in stream or process
of thought)
4.2 ความผิดปกติของเนื้อหาความคิด (Disturbances in content of thought)
5. การพูด (Speech)
5.1 Echolalia การเลียนแบบคำพูดของคนอื่น พบในโรคทางจิตเวชที่เกิดจากสภาวะทางร่างกายและสติปัญญาบกพร่อง
5.2 Pressure of speech คือการพูดมาก เร็ว ดัง และเน้นถ้อยคำจนผู้ฟังไม่สามารถขัดจังหวะให้ผู้ป่วยหยุดพูดได้พบในผู้ป่วยแมเนีย (Mania)
5.3 Poverty of speech ปริมาณคำพูดของผู้ป่วยจะมีน้อย ตอบแค่ที่ถาม คำตอบสั้น ๆ ไม่ได้รายละเอียด ต้องถามอยู่เรื่อย ๆ มักพบในผู้ป่วยซึมเศร้า
5.4 Thought block ความคิดหยุดชะงัก ผู้ป่วยจะหยุดชะงักก่อนพูดจบ หลังจากเงียบไปชั่วครู่ผู้ป่วยจะบอกว่าจำไม่ได้ว่า
6. ความผิดปกติของการรับรู้ (Disorder of perception)
6.1 ประสาทหลอน (Hallucination)
เป็นการรับรู้สึกต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองโดยไม่มีสิ่งเร้าจากภายนอก
ผู้ป่วยจะมีความเชื่ออย่างมาก ไม่สามารถอธิบายให้เข้าใจได้โดยใช้เหตุผลความเป็นจริงต่าง ๆ เนื้อเรื่องของ
ประสาทหลอนนั้นจะอยู่กับประสบการณ์ในอดีต และพยาธิสภาพทางจิตใจ (Psychopathology) ที่เป็นที่ยอมรับไม่ได้ หรือเป็นที่ไม่สมปรารถนา แล้วหาทางออกโดยการ Project ไปที่การรับรู้เป็นการทำให้สิ่งแวดล้อมผิดไปประสาทหลอนมีได้ทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
6.2 การแปลการรับสัมผัสผิด (Illusions)
คือ การรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ผิดปกติ ชนิดแปลสิ่งเร้า
ผิดไปจากความเป็นจริง (Misinterpretation of read external sensory stimuli) ในขณะที่มีสิ่งเร้าจริงจากภายนอกพบในผู้ป่วยโรคสมอง เช่น การเห็นสายน้ำเกลือเป็นงู เห็นม่านที่ลมพัดปลิวเป็นคนที่กำลังเคลื่อนไหว
6.3 ความรู้สึกว่าตนมิใช่ตนเอง (Depersonalization)
คือ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองเป็นสิ่งไม่จริง(Unreal) แปลกไป (Strange) หรือไม่คุ้นเคย หรือมีบางอย่างเปลี่ยนแปลงไปแต่อธิบายไม่ได้ ในบางรายรู้สึกว่าเพียงบางส่วนของร่างกายแปลกไป เช่น มือขวาไม่ใช่มือขวาของตน หรือหน้าของเขาแปลกไป
6.4 ความรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป หรือแปลกไป (Derealization)
คือ ผู้ป่วยรับรู้ว่าว่าสิ่งแวดล้อมแปลกไป (Strange) หรือไม่เป็นจริง (Unreal) แต่อธิบายไม่ได้ว่าเปลี่ยนไปอย่างไร
7. ความผิดปกติในความจำ (Disturbance of memory)
7.1 การลืม (Amnesia) คือ การสูญเสียความจำ
7
.2 Confabulation (Paramnesia, Illusion of memory, Falsification of memory)
การที่ผู้ป่วย
สูญเสียความจำ โดยเฉพาะความจำที่เพิ่งเกิดขึ้น (Recent memory) แล้วผู้ป่วยต่อเติม แต่งเรื่องราวขึ้นมาเอง
7.3 Déjà vu เป็นความรู้สึกว่าได้เคยเห็น
7.4 Hyper - amnesia คือ การมีความทรงจำมากไป
8. เชาว์ปัญญา (Intelligence)
8.1 ผิดปกติในเชาว์ปัญญา (Disorder of intelligence)
การเก็บรวบรวมข้อมูลทางจิตเวช
ขั้นตอนการสัมภาษณ์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
1.1 การเริ่มต้นการสัมภาษณ
1.1.1 กล่าวทักทายและแนะนำตนเองกับผู้ป่วย
1.1.2 ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์
1.1.3 การสัมภาษณ์ควรมีความเป็นส่วนตัว ไม่มีสิ่งรบกวน โดยทั่วไปควรสัมภาษณ์ผู้ป่วยตาม
ลำพัง โดยไม่มีบุคลอื่นอยู่ด้วย
1.1.4 แสดงความสนใจในตัวผู้ป่วยและปัญหาของผู้ป่วย
1.2 การซักประวัติ
1.2.1 ข้อมูลส่วนตัว
1.2.2 อาการสำคัญและประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1.3 ขั้นตอนการสัมภาษณ
1.3.1 ระยะที่ 1 ควรเริ่มต้นด้วยการสอบถามและให้ผู้ป่วยเล่าถึงปัญหา
1.3.2 ระยะที่ 2 เป็นการหารายละเอียดเพิ่มเติมจากที่ผู้ป่วยเล่าเพื่อให้เกิดความชัดเจน โดยถาม
คำถามที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
1.4 การบันทึกอาการสำคัญ
ควรบันทึกสาเหตุที่นำผู้ป่วยมาโรงพยาบาล โดยใช้คำพูดของผู้ป่วยเอง หากผู้บอกถึงอาการ
สำคัญไม่ใช่ผู้ป่วย พยาบาลควรระบุด้วยว่าใครเป็นผู้บอกอาการสำคัญดังกล่าว ในกรณีที่ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นและ
ดำเนินอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน พยาบาลควรซักถามถึงเหตุผลที่พาผู้ป่วยมาในเวลานั้นด้วย
1.5 การประเมินการทำหน้าที
1.5.1 การประเมินกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันหรือการดูแลตนเอง (Physical activities
of daily living or self - care)
1.5.2 การประเมินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือชีวิตประจำวัน ( Instrumental
activities of daily living)
1.6 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
1.7 ประวัติครอบครัว
1.8 ประวัติส่วนตัวในอดีต
1.9 การดำรงชีพในปัจจุบัน
1.10 การตรวจร่างกาย
1.10.1 สิ่งปรากฏทั่วไปและสภาพทางโภชนาการ
1.10.2 สัญญาณชีพ
1.10.3 ศีรษะและคอ หัวใจ ปอด ท้อง แขนขา
1.10.4 สภาพของระบบประสาท
1.10.5 ผิวหนัง และบริเวณอื่นๆของร่างกายหรือระบบอวัยวะ ที่พบว่าการซักประวัติมีข้อบ่งชี้ว่า
ผิดปกติ
1.11 การตรวจสภาพจิต (Mental Status Examination)
การตรวจสภาพจิต คือ การตรวจสภาพการทำงานของจิตใจผู้ป่วย ผู้ตรวจทำการตรวจแล้วบันทึก
อาการแสดงต่างๆ ซึ่งสะท้อนการทำงานของจิตใจหลายด้าน
ทฤษฎีทีใช้ทางสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช
ทฤษฎีทางจิตเวชศาสตร์
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic theory) “จิตใจเป็นผู้กลั่นกรองและสั่งการให้มีการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมรูปแบบต่าง ๆ ประสบการณ์ใน
ครั้งก่อนๆ มีส่วนร่วมในกระบวนการนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประสบการณ์ในวัยต้นของชีวิต”
1.1 แนวคิดหลักของทฤษฎี
1.1.1 ระดับของจิตใจ (Level of mind)
1.1.2 โครงสร้างของจิต (The structure of mind)
1.1.3 สัญชาตญาณ (Instinct)
1.1.4 กลไกทางจิต (Defense mechanism)
1.1.5 ความกังวลใจ (Anxiety)
1 more item...
1.2 การเกิดพฤติกรรมแปรปรวนตามแนวคิดจิตวิเคราะห์
อาการโรคประสาท (Neurotic symptom)
1.3 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการบำบัดทางจิตเวช
1.4 แนวคิดการบำบัด
1.5 ทฤษฎีจิตวิเคราะห์กับการพยาบาล