Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ,…
การพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ
1.ความหมายการพยาบาลงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ
งานอนามัยสิ่งแวดล้อมเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชาชีพ ได้กล่าวว่า บทบาทของพยาบาลชุมชน ได้แก่ การจัดหาน้ำเพื่อบริโภคและอุปโภค การบำบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษทางน้ำ การสุขาภิบาลอาหาร
2.การจัดหาน้ำเพื่อบริโภคและอุปโภค น้ำที่ใช้ในการบริโภคต้องเป็นน้ำสะอาด คือ เป็นน้ำใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีเชื้อโรค ไม่มีสารกัมมันตรังสี หรือ สารเคมีปะปนอยู่
คุณภาพของน้ำเพื่อบริโภคแบ่งได้ 3 ลักาณะ
คุณลักาณะทางเคมี คือ สารอินทรีย์ สารอนินทรียื และโลหะหนักเจือปน เช่น สารหนู แคดเมียม ตะกั่ว ปรอท
คุณลักษณะทางชีวภาภ ก่อให้เกิดโรคในมนุษย์มี่ความรุนแรงตั้งแต่เจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยหรือถึงขั้นเสียชีวิต เช่น แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส หนอนพยาธิ
น้ำฝน
น้ำผิวดิน
น้ำใต้ดิน
คุณลักษณะทางกายภาพ คือ ลักษณะของน้ำที่สามารถวิเคระห์ได้โดยใช้ ประสาทสัมผัส ได้แก่ ความขุ่น สี รสชาติ กลิ่น และอุณหภูมิ
3.การใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคจะต้องจัดทำบ่อน้ำให้ถูกหลักสุขาภิบาล
มีวงขอบบ่อเพื่อป้องกันดินพัง
ทำชานซีเมนต์รอบปากบ่อ รัศมีไม่น้อยกว่า 2 ฟุต
บ่อต้องลึกมากกว่า 3 เมตร
มีรางระบายน้ำห่างจากบ่อไม่น้อยกว่า 5 ฟุต
สถานที่ตั้งของบ่อควรเป็นที่สูง น้ำท่วมไม่ถึง
มีฝ่าปิดบ่อ
แนวทางการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
1.การปรับปรุงด้านชีวภาพ การปรับปรุงคุณภาพน้ำ ( Water treatment )
1.1 การใช้ความร้อนโดยการต้ม (Boiling) ต้มให้เดือดนาน นาที ทำลายเชื้อแบคทีเรีย ต้มนาน นาที ทำลายสปอนร์ของแบคทีเรีย
1.2 การใช้สารเคมีเพื่อทำลายเชื้อแบคทีเรีย
2.การปรับปรุงด้านกายภาพโดยการทำให้น้ำใส ไม่ขุ่น ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เค็มเกินมาตรฐาน
การทำให้น้ำผ่านอากาศ (Filtation) ทำให้เหล็กและแมงกานีส ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนตกตะกอน
การกรอง (Aeration) ควรเลือกวัสดุกรองที่หาง่าย ราคาถูก ทนทาน
การทำให้ตกตะกอน (Sedimenation) โดยการเติมสารส้มช่วยสร้างตกตะกอน
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการบริโภคอุปโภคน้ำสะอาด หมายถึง น้ำที่ใส ไม่ม่สี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่มีสารพิษ ไม่มีเชื้อโรคหรือถ้ามีปะปนต้องไม่ต้องเกินมาตรฐานความปลอดภัยที่กำหนดไว้
3.การปรับปรุงด้านเคมี
3.1 การกำจัดเหล็กและแมงกานีสโดยการทำให้เป็นตะกอน ได้แก่ การเติมอากาศ ปูนขาว คลอรีน ด่างทับทิมหรือการปรับ pH
3.2 การกำจัดความกระด้างของน้ำส่วนมากเป็นสารประกอบแคลเซียม
การบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษทางน้ำ
น้ำเสีย หมายถึง น้ำที่ผ่านการใช้ทำความสะอาดและการขับถ่ายของเสีย ลักษณะน้ำเสียมี ุ3 ลักษณะ
1.ลักษณะทางกายภาพ คือ น้ำเสียมีอุณหภูมิสูงกว่าน้ำธรรมดา
2.ลักาณะทางเคมี
สารอนินทรีย์
ก๊าซ
สารอิรทรีย์
3.ลักษณะทางชีวภาพ
3.1 ปริมาณโคลิฟอร์มทั้งหมด
3.2 แบคทีเรียกลุ่มฟิคอลโคลิฟอร์ม
การบำบัดน้ำเสีย (Waste Water treatment)
.2. การบำบัดทางเคมี (Chemical treatment)
การบำบัดทางชีวภาพ (Biological treatment) เช่น ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ ระบบแผ่นจานหมุนชีวภาพ
1.การบำบัดทางกายภาพ (Physical treatment) เช่น ของแข็งขนาดใหญื กระดาษ พลาสติก เศษอาหาร
สุขาภิบาล
ความหมาย กระบวนการจัดการและควบคุมอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ ผู้สัมผัสอาหาร และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในทุกกิจกรรมตั้งแต่การเตียมวัตถุดิบ การขนส่ง และการจำหน่ายอาหาร
3.ภาชนะอุปกรณ์
4.การรวบรวมขยะและน้ำโสโครก
2.ตัวอาหาร น้ำ น้ำแข็ง เครื่องดื่ม
5.ห้องน้ำ ห้องส้วม
1.สถานที่ประกอบการและจำหน่ายอาหาร
6.ผู้สัมผัสอาหาร
นางสาวอานาดีย๊ะ หะยีสาและ รหัสนักศึกษา 624N46125