Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คุณลักษณะจิตวิญญาณอุดมการณ์ของนักบริหารยุคดิจิทัลที่พึ่งประสงค์…
คุณลักษณะจิตวิญญาณอุดมการณ์ของนักบริหารยุคดิจิทัลที่พึ่งประสงค์ องค์ประกอบของนักบริหารยุคดิจิทัล
คุณลักษณะจิตวิญญาณของผู้บริหาร
ศ.นพ.ประเวศ วะสี
ให้คำจำกัดความว่า จิตวิญญาณ คือ จิตสูงสุด ที่ลดความเห็นแก่ตัว
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2547 : 19 – 27) มีคุณลักษณะ 3 ข้อ
มีความเป็นปัญญาชน
บริหารตนเป็นแบบอย่างที่ดี
อุทิศตนเพื่อหน้าที่
สรุป
ผู้บริหารที่มีจิตวิญญาณนักบริหารจะตระหนักใน “ความสำเร็จ”จากการทำงานมากกว่า “ผลตอบแทน”ที่ได้รับจากการทำงานมีความยินดีและเต็มใจ “เสียสละประโยชน์ของตนเอง”
ผู้บริหารสถานศึกษา
มืออาชีพ
มีวิสัยทัศน์ ( Vision )
ลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี
3.ต้องท้าทายความสามารถ
4.คำนึงถึงผู้รับบริการเป็นสำคัญ
2.เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนถึงความเป็นเลิศ ซึ่งอาจจะกำหนดเวลาไว้ด้วยก็ได้
1.มีความชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้
5.มีความสอดคล้องกับแนวโน้มในอนาคต
มีมนุษย์สัมพันธ์ ( Human relationship )
มนุษยสัมพันธ์จัดเป็นทั้งศาสตร์ และศิลป์เนื่องจากมีหลักการ และทฤษฎีที่เป็นข้อความรู้ และการนำหลักการ หรือทฤษฎีไปปฏิบัติให้ประสบความสำเร็จได้นั้นต้องอาศัยเทคนิควิธีการซึ่งถือเป็น ศิลปะเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล
มีความรู้ดี ( Knowledge )
การประกอบกิจการหรือดำเนินการใดๆความรู้ คือ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้สิ่งที่ลงมือกระทำนั้นประสบความสำเร็จได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
มีภาวะผู้นำ ( Leadership )
มีบุคลิกภาพที่ดี ( Personality )
คือ ตัวบุคคลโดยส่วนรวม ทั้งลักษณะทางกาย ซึ่งสังเกตได้ง่าย อันได้แก่รูปร่างหน้าตากิริยาท่าทาง น้ำเสียง คำพูด ความสามารถทางสมอง
มีความสามารถพิเศษรอบด้าน (Talent)
เป็นผู้นำวิชาการ (Professional leader)
สิร์รานี วสุภัทร (2551 : 29 )
ได้นิยามความหมายของ ผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง การแสดงบทบาทหน้าที่อย่างสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่สามารถโน้มน้าว จูงใจ หรือชี้นำให้บุคลากรในสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องเข้าใจและตระหนักในจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
เกอร์วิน (Girvin , 2001 : 1 )
ได้กล่าวถึงผู้บริหารในฐานะผู้นำทางวิชาการว่าผู้บริหารถือเป็นแกนกลางของความพยายามในฐานะผู้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ผู้จัดระเบียบองค์การ ผู้นำและผู้ประเมิน เพื่อเป็นการรับประกันความก้าวหน้าทางวิชาการของโรงเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะทำให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนรู้สูงขึ้น
ถาวร เส้งเอียด (2550 : 150)
ให้ความหมาย ผู้นำทางวิชาการ หมายถึงความสามารถของผู้บริหารโรงเรียนในการนำความรู้ แนวคิด วิธีการ ตลอดจนเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพมาใช้ในการบริหารจัดการ ให้เกิดประโยชน์
บริหารจัดการดี (Administration & Management)
มีคุณธรรมจริยธรรม (Moral & Ethics)
เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ( chief change officer )
ภาวะในการกระตุ้นทางปัญญา
ภาวะในการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล
ภาวะผู้นำบารมีในการสร้างแรงบันดาลใจ
อุดมการณ์ของนักบริหารยุคดิจิทัล
2.การเป็นผู้ใช้ดิจิทัลได้อย่างคล่องแคล่ว (Professional Practice)
นักบริหารต้องตระหนักว่าจะต้องเป็นผู้นาในการใช้งานดิจิทัลได้อย่างคล่องแคล่ว เชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยี (Digital native) สามารถจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้และนวัตกรรมดิจิทัลได้อย่างมืออาชีพ
3.ความสามารถในการนำข้อมูลมาใช้ (Data
นักบริหารจะต้องสามารถเรียกใช้ ข้อมูลสารสนเทศได้อย่างอิสระ (Free
flow of information) โดยนำมาใช้ได้อย่างไม่จากัด ทำให้เกิดประโยชน์สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรตั้งแต่การทำงานประจำวัน
1.การมีวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership)
นักบริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์สามารถ แลกเปลี่ยนถ่ายทอดวิสัยทัศน์และประยุกต์ใช้ดิจิทัลเพื่อยกระดับความเป็นเลิศขององค์กร การเข้าใจกลยุทธิ์ที่สนับสนุนเป้าหมายจะเป็นการเพิ่มโอกาสในการแข่งขันขององค์กรด้วยนวัตกรรมดิจิทัล
4.การเป็นผู้ใช้ดิจิทัลได้อย่างคล่องแคล่ว (Professional Practice)
นักบริหารจะต้องเข้าใจในความรู้และทักษะขีดความสามารถของคนในองค์กร รู้จัก จัดการและสร้างสมดุลของทักษะความสามารถของคนในองค์กรให้เหมาะกับสถานการณ์
4.การสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ในโลกยุคดิจิทัล(Digital Age Learning Culture)
นักบริหารจะต้องสร้างพลวัตในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลให้เป็นปกติในองค์กร จนเกิดเป็นวัฒนธรรมการเรียนรู้ในโลกดิจิทัลในองค์กรได้อย่างทั่วถึง
1.ผู้นำด้านคุณธรรม จริยธรรมและการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1. ผู้บริหารต้องมีคุณธรรมขั้นพื้นฐาน
8 ประการของกระทรวงศึกษาธิการ คือ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ
2. ผู้บริหารต้องยึดมั่นใน พรหมวิหาร 4
เป็นหลักธรรมของผู้ใหญ่(ผู้บังคับบัญชา) ที่ควรถือปฏิบัติ 4 ประการ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
4.ผู้บริหารต้องมีธรรมะของผู้นำวิชาการ
ครองใจคน สร้างมนุษยสัมพันธ์ด้วยสังคหวัตถุ 4ทาน
2.วินัยและจรรยาบรรณวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
จรรยาบรรณต่ออาชีพ ต้องมีความรักและศรัทธาต่อวิชาชีพครู ธำรงและปกป้องวิชาชีพ พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ สร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งแกร่งสมาชิกในวงวิชาชีพ
3.การมีจิตสำนึก ความมุ่งมั่น การสร้างศรัทธา และมีอุดมการณ์ในวิชาชีพ
องค์ประกอบของนักบริหารยุคดิจิทัล
คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล
การฝึกอบรมพัฒนาบุคลากรทุกคนของสถานศึกษาให้มีความรู้ความสามารถด้าน ICT
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องทาตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีสามารถใช้ ICT ในการปฏิบัติงานอย่างได้เหมาะสม
การสร้างวัฒนธรรมการทำงานและบรรยากาศสถานศึกษาให้มีการใช้ ICT อย่างแพร่หลาย
ส่งเสริมสนับสนุนสร้างแรงจูงใจครูอาจารย์บุคลากรทุกคนของสถานศึกษาให้นำความรู้ความสามารถด้านICT และเทคโนโลยีต่างๆ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆในการจัดการเรียนการสอนหรือการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดให้มีระบบกากำกับติดตามและการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการใช้ ICT
1.กำหนดวิสัยทัศน์ด้าน ICT ของสถานศึกษาให้ชัดเจนว่าต้องการไปในทิศทางใด
เป้าหมายการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
ผู้บริหารสถานศึกษาควรเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันการบริหารจัดการการศึกษาและยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
4.ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยเทคนิควิธีการที่ทันสมัยโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องส่งเสริมพัฒนาครู ให้ เห็นความสำคัญ และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้
ผู้บริหารสถานศึกษาควรสร้างโอกาสทางสังคม สร้างความเท่าเทียมกันทางสังคม และสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยกระดับคุณภาพการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องพัฒนาตนเองให้มีวิสัยทัศน์ เห็นความสำคัญ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การเป็นผู้นำที่ดีในยุคดิจิทัล
5..เปิดโอกาสให้ลูกน้องได้แสดงศักยภาพ และส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้า
3.รับฟังความคิดเห็นผู้อื่นอย่างเปิดใจ
6.หาความรู้มาอัพเดท แชร์คอร์สที่ช่วยพัฒนาศักยภาพ
2.มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ที่ดี
7.พัฒนาการทางานระบบทีมให้มีประสิทธิภาพ
8.สื่อสารได้หลากหลายภาษา
9.มีทักษะในการแก้ไขปัญหา
1.ควรอัพเดทเทคโนโลยีอย่างสม่ำเสมอ
4.เป็นที่ปรึกษาที่ดี
แนวทางการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล
การบริหารการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
3.การสร้างวัฒนธรรมสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง
4.การส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
2.การเสริมสร้างพัฒนาภาวะผู้นำ
5.การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
1.การกำหนดนโยบายและการส่งเสริมสนับสนุน
6.การทำงานอย่างเป็นเครือข่าย
การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับสถานศึกษา
3.การเสริมสร้างการยอมรับให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง
4.การเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยกันโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองในเรื่องICT
2.การเข้าถึงเทคโนโลยีการบริหารเทคโนโลยีสำหรับสถานศึกษายุคดิจิทัล
5.การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดและการเรียนการสอนของครูและการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน
1.การยอมรับเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลง
การนิเทศ ติดตาม ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูมีการ ติดตามและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการบริหารจัดการให้ครอบคลุมภารกิจของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย
ความแตกต่างระหว่างภาวะผู้นาในยุคดิจิทัลและภาวะผู้นาทั่วไป
ความเร็วในการเปลี่ยนแปลง
การเตรียมพร้อม และ การตอบโต้
ทิศทางในยุคดิจิทัล
ข้อควรระวังสำหรับการสร้างภาวะผู้นำในยุคดิจิทัล
การจัดการทรัพยากร
บริหารความเปลี่ยนแปลง
พนักงานและกระบวนการทำงาน
คุณลักษณะยุคดิจิทัล (Characteristicsof Digital Era)
2.การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่ ทำให้สามารถเข้าถึง รับรู้ และ เรียนรู้ได้ทุกที่ และทุกเวลา
ความรวดเร็วในการสื่อสารไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ หรือการเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ
3.การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆให้ทุกคนสามารถจัดเก็บ เข้าถึง ใช้พัฒนาความรู้ เผยแพร่และแบ่งปันความรู้ได้อย่างทั่วถึง
ทักษะที่ผู้นาในยุคดิจิทัลที่ควรมี
ตัดสินใจด้วยข้อมูลดิจิทัล(Data driven decision making)
ทดสอบ ทดลอง (Experiment)
การเรียนรู้ และ เรียนรู้ใหม่ (Learning and Re learning)
การบริหารบุคลากรในยุคดิจิทัล