Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดสุขภาพจิตเเละการเจ็บป่วยทางจิต, บทที่ 2 แนวคิด หลักการ…
แนวคิดสุขภาพจิตเเละการเจ็บป่วยทางจิต
ลักษณะสำคัญเเละเกณฑ์การจำเเนกโรคทางจิตเวชที่พบบ่อย
ลักษณะสําคัญของโรคทางจิตเวช
1.1 อาการเข้าได้กับกลุ่มโรคหรือ Syndrome ต่าง ๆ ที่เฉพาะหรือเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรค
1.2 เสียหน้าที่ (Dysfunction)ซึ่งอาจเป็นการงาน อาชีพ (Occupational dysfunction) หรือการเข้าสังคมหรือการรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น (Social dysfunction) หรือรู้สึกเป็นทุกข์ (Distress)
เกณฑ์การจําแนกโรคทางจิตเวช
ระบบการแบ่งประเภทของโรคทางจิตเวช (Classification systems)
Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disordersซึ่งเป็นระบบการวินิจฉัย ตามสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน DSM-5 แบ่งหมวดหมู่โรค ที่ลงท้ายด้วย disorders เช่น Depressive disorders Anxiety disorders เป็นต้น
International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems ซึ่งเป็นระบบการวินิจฉัยตามองค์การอนามัยโลก มีตัวย่อว่ำ ICD-10
ระบบการวินิจฉัยโรคแบบหลายแกน (Multiaxial diagnosis)
แกนที่ 3 (Axis III) โรคทางกาย (General medical condition)
แกนที่ 4 (Axis IV) ปัญหาทางจิตสังคมและปัญหาสิ่งแวดล้อม
(Psychosocial and environmental problems)
แกนที่ 2 (Axis II) โรคบุคลิกภาพแปรปรวน หรือ ปัญหาบกพร่อง
(Personality disorder/ Mental retardation)
แกนที่ 5 (Axis V) ระดับความสามารถในการใช้ชีวิตทั่วไปของผู้ป่วย
(Global Assessment of functioning scale หรือ GAF scale)
แกนที่ 1 (Axis I) โรคทางจิตเวช (Psychiatric diagnosis)
ระดับความสามารถในการใช้ชีวิตทั่วไปของผู้ป่วย
การประเมินความสามารถโดยรวม ในการประเมินให้พิจารณาถึงความสามารถของผู้ป่วยในเชิงจิตใจ สังคม และอาชีพ การพิจารณาไม่ให้รวม ความ บกพร่องด้านการทําหน้าที่อันเนื่องมาจากข้อจํากัดทางร่างกาย
อาการวิทยาเเละการตรวจสภาพจิต
อาการวิทยา
ความคิด (Thought)
กระเเสความคิดผิดปกติ เช่น ความคิดกระจัดกระจายเปลี่ยนเเปลงเร็ว คิดช้า พูดไม่ต่อเนื่อง
เนื้อหาความคิดผิดปกติ เช่น Delusion Obseesion
การพูด (Speech)
เช่น Echolalia การพูดเลียนเเบบคนอื่น Poverty of speech ถามคำตอบคำ เป็นต้น
Motor behavior
เช่น Echopraria Waxy flexibility Stereotypo Negativism Overactivity เป็นต้น
ความผิดปกติของการรับรู้ (Disorder of perception)
ประสาทหลอน(Hallucination) เช่น หูเเว่ว เห็นภาพหลอน
Emotion
เป็นความผิดปกติของอารมณ์ เช่น Inappropriate affect เเสดงอารมณ์ไม่เหมาะสม Pleasurabie affect เช่น Euphoria
ความผิดปกติในความจำ
การสูญเสียความจำ
1.Consciousness เป็นภาวะรู้สึกตัว
ความผิดปกติของสัมปชัญญะ ได้เเก่ Coma Stupor Drowsiness Delirium และ Fiuctuation of Consciousness
ความผิดปกติในความตั้งใจ ได้แก่ Distractibility และ Selective inattention
ความผิดปกติเกี่ยวกับการคล้อยตาม ได้เเก่ Folie a dueux และ Hypnosis
เชาว์ปัญญา (Intelligence)
Dementia การเสื่อมของเชาว์ปัญญา
Mentai retardation ปัญญาบกพร่อง
การตรวจสุขภาพจิต
ระดับการรู้สึกตัว
การรู้สึกตัวเลื่อนลอย เช่น การคิด ความจำ ความใส่ใจ ผิดปกติ
การรับรู้
ความสามารถของผู้ป่วยในการรับรู้เกี่ยวกับตนเองและโลกภายนอก การได้ยินเสียงในขณะที่ไม่มีผู้อื่นได้ยินหรือเห็นภาพในขณะที่ผู้อื่นไม่เห็น ได้เเก่ประสาทหลอน(Hallucination)
ความใส่ใจเเละสมาธิ
การสังเกตุความใส่ใจ สามารถทดสอบได้โดยการให้ลบเลข
ความคิด
กระแสความคิด ได้เเก่ การใช้ความคิด ความต่อเนื่องของความคิด
เนื้อหาของความคิด คือ สิ่งที่ผู้ป่วยคิดซึ่งแสดงออกทางคำพูดซึ่งผู้ป่วย
อาจพูดเองหรือ พยาบาลต้องถามเพื่อให้ไ้ด้คำอบ เช่น พยาบาลต้องถามเรื่องความคิดฆ่าตัวตาย
ความคิดแบบนามธรรม ความสามารถในการบอกความเหมือนกัน และความแตกต่างกัน
ความจำ
ความจำเฉพาะหน้า พูด 3 คำ เเล้วห้ผู้ป่วยพูดตามทีละคำ ความจำทันที ให้ผู้ป่วยนับเลขตาม ความจำในปัจจุบัน ถามเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่พึ่งเกิดขึ้น
10.เชาว์ปัญญาเเละความรู้ทั่วไป
เช่น การให้บอกชื่อเมือง ให้บอกชื่อนายกรัฐมนตรี เพื่อวัดเชาว์ปัญญา
2.อารมณ์
พื้นฐานอารมณ์(mood) อารมณ์ที่ตรวจพบได้บ่อยคือ อารมณ์ปกติ (normal) เศร้า (Depressed) สิ้นหวัง (despair) หงุดหงิด(irritable)กงัวล(anxious)กลัว (fearful) เป็นต้น
การแสดงอารมณ์ (affective expression) สังเกตการแสดงออกของอารมณ์ในช่วงขณะหนึ่งว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปตามเรื่องราวที่พูดคุยกันหรือสถานการณ์ที่ผู้ป่วยเผชิญได้มากน้อยเพียงไร
การตัดสินใจ
ตรวจวัดการตัดสนใจว่าเหมาะสมหรือไม่ ประกอบด้วยเหตุผลอย่างไร
1.ลักษณะทั่วไป และพฤติกรรม
ท่าที(attitude) ให้ความร่วมมือ เป็นมิตร ไว้วางใจ บางคนอาจก้าวร้าวไม่เปิดเผยและระวังตัวมาก
พฤติกรรม(behavior) ได้แก่ การเคลื่อนไหว ที่อาจมีมากหรือน้อยกว่า ปกติ ท่าเดิน การเคลื่อนไหวซ้าๆ มีอาการกระตุก (tics)
ลักษณะภายนอก(appearance) ไดแ้ก่รูปร่างหนา้ตาขนาดตัว การแต่งกายความสะอาด
การพูด
อัตราการพูด(rate) อยู่ในเกณฑ์ปกติ เร็ว หรือช้า
จังหวะ(rhythm) การพดู ราบรื่นดีหรือมีการติดขดั เช่น มีการลังเล (hesitation) ติดอ่างตอนตั้งเเต่ต้นประโยค (stammering)
ความดัง(volume) พูดค่อยหรือดัง เสียงดังอาจเพราะโกรธ
ความผิดปกติของคำพูด พูดเสียงเดียว (monotonous) เสียงขึ้นๆ ลงๆ
การรู้เวลา สถานที่ เเละบุคคล
สามารถบอกวัน เดือน ปี บอกสถานที่ เเละบุคคลได้
สุขภาพจิตสภาพสุขภาวะ ที่บุคคลรับรู้ศักยภาพของตนเองสามารถรับมือกับความเครียดในชีวิตได้
การเจ็บป่วยทางจิต
การเจ็บป่วยทางจิต (Mental illness) คือ ความผิดปกติที่กระทบต่ออารมณ์ (Emotion) พฤติกรรม (Behavior) และความคิด (Thinking) ซึ่งความผิดปกติมักจะมีสาเหตุมาจากความ
ทุกข์ใจ การบกพร่องในการทําหน้าที่
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดการเจ็บป่วยทางจิต
ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย ปัจจัยด้านชีวภาพ ความกลัว/กังวล การใช้ชีวิตที่ไม่
แน่นอน การแยกไม่ได้ว่าอะไรจริงอะไรที่เพ้อฝัน
ปัจจัยระหว่างบุคคล ประกอบด้วย การสื่อสารที่ขาดประสิทธิภาพ การพึ่งพามากผิดปกติ
ปัจจัยด้านสังคม/วัฒนธรรม ประกอบด้วย การขาดแหล่งสนับสนุน ความรุนแรง การไร้บ้าน
บทที่ 2
แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลจิตเวช
นางสาวณัฏฐ์พัชร์ หนูจัน เลขที่ 23