Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกใน…
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของรกน้ำคร่ำ และความผิดปกติของทารกในครรภ์
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
น้ำคร่ำมากกว่าปกติ (polyhydramnios)
มีน้ำคร่ำมากกว่า 2,000 มล. วัดค่า AFI ได้ 24-25 ซฒ. ขึ้นไป
พยาธิสภาพ
มักสัมพันธ์กับปริมาณปัสสาวะของทารก การสร้างของเหลวจากปอด การกลืน และการดูเซึมผ่านเนื้อเยื่อของทารก
สาเหตุ
ด้านทารก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการกลืนของทารก ความผิดปกติของระบบประสาท การอุดกั้นของระบบทางเดินอาหาร ทารกที่ได้รับเลือดมากจะมีปัสสาวะมาก จึงทำให้ปริมาณน้ำคร่ำมากขึ้น ทารกบวมน้ำ ครรภ์แฝดที่มีภาวะแทรกซ้อน
3.ไม่ทราบสาเหตุ พบมากที่สุดซึ่งวินิจฉัยไม่พบความผิดปกติของมารดาและทารกในครรภ์
1.ด้านมารดา ได้แก่ มารดาเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์แฝด
จำแนกชนิด แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
1.ภาวะน้ำคร่ำมากอย่างเฉียบพลัน (Acute hydramnios)
พบตั้งแต่อายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ น้ำคร่ำเพิ่มอย่างรวดเร็ว 2-3 วัน
อาการ ไม่สุขบาย ปวดหลังแลพหน้าขา แน่นอึดอัดในช่องท้อง หายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน บวมที่ผนังหน้าท้อง ไม่สามารถคลำหาส่วนต่างๆของทารกได้ชัดเจน
2.ภาวะน้ำคร่ำมากเรื้อรัง (Chronic hydramnios )
พบเมื่อ 30 สัปดาห์ขึ้นไป มีอาการหายใจลำบาก อึดอัด
ปริมาณน้ำคร่ำค่อยๆเพิ่มขึ้นอาการคล้ายกับเฉียบพลัน แต่เกิดอย่างช้าๆ
ผลต่อมารดาทารก
มารดา มีการขยายตัวของมดลูกมากเกินไป ช็อคจากความดันในช่องท้องลดลง ตกเลือดหลังคลอด ติดเชื้อหลังคลอด
ทารก เสี่ยงต่อการพิการ และคลอดก่อนกำเนิด เกิด fetal distress เกิดสายสะดือย้อย ท่ารกอยู่ท่าผิดปกติ น้ำคร่ำมากทารกจึงหมุนเปลี่ยนท่าได้ง่าย
การวินิจฉัย
ฟัง FHS ไม่ได้ยินหรือได้ยินไม่ชัด น้ำหนักมารดาเพิ่มมากกว่า 1 กิโลกรัม/สัปดาห์
หน้าท้องขยาย ท้องกลม โตกว่าอายุครรภ์ วัดเส้นรอบวงได้มากกว่า 100 ซม. ผนังหน้าท้องตึง ทฃบางใส เห็นเส้นเลือดดำหน้าท้องชัดเจน
รุนแรงน้อย = AFI มากกว่า 24 ซม. รุนแรงปานกลาง AFI มากกว่า 32 ซม. รุนแรงมาก AFI มากกว่า 44 ซม.
การดูแลรักษาและการพยาบาล
ระยะคลอด 1.ให้นอนพักบนเตียง 2.ฟัง FHS ในระยะ latent ทุก 30 นาที และระยะ active ทุก 15 นาที
การพยาบาล ขณะตั้งครรภ์ 1.ประเมินภาวะตั้งครรภ์แฝด จากอาการและอาการแสดง 2.ดูแลบรรเทาอาการอึดอัดแน่นท้อง โดย นอนตะแคงยกศีรษะสูกเล็กน้อย ทานอาหารย่อยง่าย ใส่เสื้อผ้าหลวมๆ
3.ทานอาหารดปรตีนสูง ให้ยาขับปัสสาวะ ให้ยายับยั้งการหดตัวของมดลูก
1.เจาพดูดน้ำคร่ำออก 2 การักษาด้วยยา prostaglandin synthetase inhibitors
น้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ (oligohydramnios)
มีน้ำคร่ำน้อยกว่า 300 มิลลิลิตร อาจพลรวมกับความผิดปกติขิงทารก เจริญเติบโตช้า และครรภ์เกินกำหนด
สาเหตุ
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ IUGR
รถเสื่อมสภาพ ตั้งครรภ์เกินกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ผลต่อมารดาทารก
ทารก ภาวะปอดแฟบเกิดพังผืดในโพรงมดลุกรัดตัวเด็ก ทารกอยู่ในภาวะคับขัน และเจริญเติบโตช้าในครรภ์
มารดา มีโอกาศผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเนื่องจากทารกเกิด fetal distress
การวินิจฉัย
AFI มีค่าน้อยกว่า 5 ซม.
MVP มีค่าน้อยกว่า 1 หรือ 2 ซม. = มีน้ำคร่ำน้อย
การรักษา พิจารณาตามอายุครรภ์ ไตรมาสสอง
การให้ดื่มน้ำมากๆ เพิ่มปริมาณน้ำคร่ำชั่วคราว
ประเมินความผิดปกติแต่กำเนิด
1.เติมน้ำคร่ำ เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดแฟบ ความพิการ
การพยาบาล
อธิบายสาเหุ และแนวทางการรักษา
ดูแลให้ได้รับสารน้ำเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ
3.รับฟังปัญหา เห็นอกเห็นใจ กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intra Uterine Growth Restriction : IUGR)
เจริญเติบโตไม่เป็นไปตามปกติ โดยน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเปอร์เซนไทล์ที่ 10 คือ 1.ทารกมีขนาดเล็กตามธรรมชาติ เนื่องจากมารดาตัวเล็ก 2.ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ อาจเกิดจากภาวะทุพโภชนาการ
สาเหตุ
ด้านมารดา 1.ตัวเล็ก 2.ขาดสารอาหาร 3.ภาวะโลหิตจางรุนแรง 4.มารดาติดเชื้อ 5.โรคของมารดา เช่น ความดัน เบาหวาน ไต 6.ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น สารเสพติด อยู่พื้นที่สูง
ด้านทารก 1.พิการแต่กำเนิด 2. การติดเชื้อในระยะตั้งครรภ์ 3.ความผิดปกติของโครโมโซม
จำแนกประเภทของ IUGR
ทารกโตช้าในครรภ์แบบได้สัดส่วน (Symmetrical IUGR) คือทารกเจริญเติบโตช้าทุกรูปแบบ ทั้งความกว้าง เส้นรอบศีรษะ เส้นรอบท้อง ความยาวแขนขา มักเกิดจาก
สัมพันธ์กับความผิดปกติของโครโมโซมหรือการติดเชื้อในระยะแรกของการตั้งครรภ์
3.การได้รับยาหรือสารเสพติด การพิการแต่กำเนิด
มารดารมีภาวะทุพโภชนาการ หรือมีน้ำหนักตัวก่อนคลอดน้อยกว่า 45 กิโลกรัม
ทารกโตช้าในครรภ์แบบไม่ได้สัดส่วน (Asymmetrical IUGR) ซึ่งจะเจริญเติบโตช้าในไตรมาสที่ 3 พบว่าส่วนท้องจะเจริญช้ากว่าส่วนศีรษะ มีสาเหตุดังนี้
มารดาเป็นโรคเกี่ยวกับเม้ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน เช่นโลหิตจาง
มารดามีประวัติโรคไต สูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ
1.มารดาเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคความดันสูง โรคเบาหวาน โรคระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
ภาวะครรภ์แฝด
การวินิจฉัย
1.ขนาดมลลูกเล้กกว่าอายุครรภ์ 3 ซม. น้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อย
2.การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
การพยาบาล
แนะนำให้มารดาพักผ่อนเพียงพอ นอนตะแคงซ้าย ติดตามสุขภาพของทารก
ระยะตั้งครรภ์ 1.แนะนำมารดาเกี่ยวกับการรับประทานอาหารหลักเลี่ยงการใช้สารเสพติด
ระยะคลอด 1.ควรติดตามประเมินสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวด
ระยะหลังคลอด ให้การดูแลทารกเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการเกิดภาวะ hypoglycemia , hypothermia , polycythemia
ทารกตายในครรภ์ (Dead Fetus in Utero : DFU)
การรักษา
ไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ เหน็บยา prostaglandin ได้แก่ PDE2 และ misoprostol ทางช่องคลอด หรือให้ oxytocin ทางหลอดเลือดดำ
3.ไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ ให้ oxytocin ปริมาณเข้มข้นสูงทางหลอดเลือดดำ
1.ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ ทำ dilatation and curettage หรือ suction curettage
การพยาบาล
1.ให้การประคับประคองด้านจิตใจ แสดงความเห็นอกเห็นใจ คำพูดสุภาพ และนุ่มนวล
2.แนะนำให้สามีและครอบครัวให้กำลังใจ ปลอบใจ เพื่อให้มีกำลังใจอละการปรับตัวอย่างเหมาะสม
4.ดูแลให้ได้รับการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ตามแผนการรักษาของแพทย์
6.ให้ได้รับยายับยั้งการหลั่งน้ำนมตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลการตรวจเลือดเพื่อหาระยะการแข็งตัวของเลือด ในกรณีที่ทารกตายในครรภ์เกิน 2 สัปดาห์
3.ประเมินความต้องการสัมผัสกับทารกแรกคลอดที่เสียชีวิต
แบ่งเป็น 3 ชนิด
2.การตายของทารกในระยะกลาง (intermediate fetal death) คือการตายระหว่างอายุครรภ์ 20-25 สัปดาห์
1.การตายของทารกในครรภ์ระยะแรก (early fetal death) คือการตายก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
3.การตายของทารกในระยะสุดท้าย (late fetal death) คือการตายตั้งแต่อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ ขึ้นไป บางครั้งหมายถึงทารกตายคลอด
สาเหตุ
ด้านมารดา
มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์โรคทางอายุรศาสตร์ มารดาอายุมากกว่า 35 ปี ภาวะทางสูติกรรม ไม่มาฝากครรภ์ ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ ความผิดปกติของสายสะดือ
ด้านทารก
มีความพิการแต่กำเนิด เจริญเติบโตช้าในครรภื มีการกดทับของสายสะดือจากสะดือย้อย
ด้านรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด การติดเชื้อในโพรงมดลูก เ้นเลือดอุดกั้นในสายสะดือ สายสะดือผิดปกติ
ทารกพิการแต่กำเนิด (congenital anormality)
คือ ความผิดปกติของร่างกายทารกแรกเกิดที่พบได้ สังเกตได้จากภายนอกกรืออวัยวะภายใน สามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้ แต่บางรายไม่สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ อาจเกิดอวัยวะเดียวหรือหลายอวัยวะก็ได้
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุ์กรรม ความผิดปกติของโครโมโซม ความผิดปกติของยีน ความผิดปกติชนิดพหุปัจจัย และสอ่งแวดล้อม
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
Disruption คือ ปัจจัยภายนอกขัดขาวงการเจริญเติบโตของอวัยวะนั้นๆ
Deformation คือ เคยปกติมาก่อนแต่มีผลจากแรงภายนอก เช่น รูปร่างมดลูกผิดปกติ การตั้งครรภ์แฝด ภาวะน้ำคร่ำน้อย
Dysplasia คือ ผลจากความผิดปกติของการจัดระเบียบของเซลล์ที่เจริญเติบโตเป็นเนื้อเยื่อ
1.Malformation คือ ผิดปกติที่ขบวนการของการเจริญเติบโตของอวัยวะ
การป้องกัน
ให้คำแนะนำปรึกษาทางพันธุ์ศาสตร์
ทารกพิการ
3. ทารกศีรษะบวมน้ำหรือภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
การรักษา
ใส่shunt แต่กลับเป็นซ้ำได้ อาจยุติการตั้งครรภ์
การดูแลทารก
ให้การดูแลเหมือนทารกแรกเกิดทั่วไป ได้แก่ท่านอน การหายใจ การให้ความอบอุ่น ให้การพยาบาลตามอาการ
4.ทารกศีรษะเล็ก (Microcephaly)
รักษา
ไม่สามารถรักษาได้แต่ต้องป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
เหมือนทารกแรกเกิดทั่วไป ให้การพยาบาบตามอาการ สังเกต Motor และ Mental retardation
2.ดาวน์ซินโดรม
เกิดจากความผิกปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง ปัจจุบันรักษาแบบประคับประคองตามอาการ มุ่งเน้นให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้
5.ภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (neural tube defects : NTDs)
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดของระบบประสาทสามารถเกิดได้ทุกขั้นตอนของการพัฒนาแต่ในช่วงแรกของการพัฒนาหรือช่วงการสร้างและปิดของ neural tube เป็นช่วงที่มีโอกาสพบความผิดปกติมากที่สุด
1.ปากแหว่งเพดาโหว่
ดูแลให้นม ปากแหว่งอย่างเดียวสามารถดูดนมจากเต้ามารดาได้ ทารกที่มีเพดาโหว่นั้นให้ใส่เพดานเทียมระหว่างดูดนม หรืออาจช้การป้อนนมโดยช้อน หากไม่สามารถดูดนมได้ใช้ขวดนมพิเศษ จัดท่าให้ศีรษะสูงหรือท่านั่งป้อนนม
6.เยื่อหุ้มไขสันหลังยื่น (Spina bifida)
เกิดจากความผิดปกติได้ตลอดความยาวของไขสันหลังตั้งแต่บริเวณศีรษะถึงกระดูกก้นกบ
การรักษา
ผ่าตัดปิดซ่อมแซมรอยโรคภายใน 24 -48 ชม. หลังคลอด เพื่อลดการติดเชื้อ
การพยาบาล
ให้ Folic acid ในสตรีตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดได้
การตั้งครรภ์ที่ทารกมีจำนวนมากกว่า 1 คน (Multiple / Twins pregnancy)
ชนิดและสาเหตุตั้งครรภ์แฝด
1.แฝดที่เกิดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (monozygotic twins / identical twins)
เกิดจากไข่ 1 ใบและอสุจิ 1 ตัว มีการแบ่งตัวในระยะเวลาต่างๆ แฝดแท้ คือ จะมีรูปร่าง หน้าตาคล้ายกัน เป็นไปตามธรรมชาติ ขึ้นอยู่กับอายุ พันธุ์กรรม เชื้อชาติ
2.แฝดที่เกิดจากไข่คนละใบ หรือแฝดเทียม (dizygotic twins / fratemal)
เกิดจากจากไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว amnion 2 อัน chorion 2 อัน
อายุมารดามากว่า 35 ปี ด้านภาวะโภชนาการ พบในมารดารูปร่างใหญ่ โภชนาการดี
มีประวัติใช้ยากระตุ้นไข่ตก จำนวนการตั้งครรภ์
เชื้อชาติ พันธุ์กรรม
การดูแลรักษา
ต้องวินิจฉัยให้เร็วที่สุด
ดูแลการเจริญเติบโตของทารกอย่างใกล้ชิด
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะอันตรายต่อทารกในระยะคลอด
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ผลต่อมารดาทารก
ทารก
แท้ง ตายในครรภ์ คลอดก่อนกำหนด เจริญเติบโตช้า อยู่ในท่าผิด ขาดออกซิเจน
มารดา
คลื่นไส้อาเจียน มีภาวะโลหิตจาง การตกเลือดก่อนคลอด ความดันโลหิตสูง ไม่สุขสบายจากการปวดหลัง เสี่ยงแท้งสูง ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด เบาหวาน
การประเมินหรือการวินิจฉัย
ขนาดมดลูกมากว่าอายุครรภ์ ฟังเสียงทารกได้ 2 ตำแห่ง
ตรวจอัลตราซาวด์ ระดับฮอร์โมน estrogen , HCG , HPL สูงกว่าปกติ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลให้ได้รับอาหารเพียงพอ เฝ้าระวังภาวะโลหิตจาง เฝ้าระวังความดันสูง งดการมีเพศสัมพันธ์ ติดตามการเจริญเติบโตของทารก ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ระยะคลอด
ท่าคลอดทางช่องคลอด ท่าหัว-ท่าหัวหรือ ท่าหัว-ไม่ใช่ท่าหัว ถ้าน้ำหนักทารกมากกว่า 1,500 กรัม
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ท่าไม่ใช่หัว-หัว หรือ ไม่ใช่หัว-ไม่ใช่หัว ให้ผ่าคลอดทางหน้าท้องทุกราย
ตรจความเข้มข้นจองเลือด ให้งดน้ำงดอาหาร และให้สารน้ำ ให้ยากระตุ้นหดรัดตัวของมดลูก หลังคลอดให้รีบ clamp สาสะดือทันที รอให้แฝดคนที่สองคลอดได้ถึง 30 นาที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด ป้องกันการติดเชื้อ แนะนำการดูแลบุตร แนะนำวิธีคุมกำเนิด