Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ดาวฤกษ์ :star:, 🍒ม.5/10 เลขที่14,15,21,24,33 - Coggle Diagram
ดาวฤกษ์ :star:
สมบัติของดาวฤกษ์
ความส่องสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์ :fire:
โชติมาตร(magnitude)หรืออันดับความสว่าง ซึ่งไม่มีหน่วย โดยดาวฤกษ์ที่มีความส่องสว่างมากกว่าจะมีค่าโชติมาตรน้อยกว่าดาวฤกษ์ที่มีความส่องสว่างน้อยกว่า
ดาวที่มีความสว่างต่างกัน 1 อันดับ = 2.512 เท่า
(เลขยิ่งน้อยความสว่างยิ่งมาก)
กำลังส่องสว่าง(luminosity:L) พลังงานของดาวฤกษ์ที่ปล่อยออกมาใน 1 วินาที ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดและอุณหภูมิผิวดาวฤกษ์มีหน่วยเป็นวัตต์(w)
ความส่องสว่าง(brightness:B) คือ พลังงานของดาวฤกษ์ที่ปล่อยออกมาใน 1 วินาที ต่อพื้นที่ผิวทรงกลมที่มีรัศมีเท่ากับระยะทางจากดาวฤกษ์ถึงตำแหน่งของผู้สังเกตมีหน่วยเป็น วัตต์ต่อตารางเมตร (Wm^ -2)น
ความส่องสว่าง ไม่เท่ากับ กำลังส่องสว่าง
สี อุณหภูมิ ชนิดสเปกตรัมของดาวฤกษ์ :fire:
สีน้ำเงินแกมขาว
ชนิดสเปกตรัมB
อุณหภูมิโดยประมาณ 10,000-30,000 K
สีขาว
ชนิดเสปกตรัมA
อุณหภูมิโดยประมาณ7,500-10,000
สีน้ำเงิน
ชนิดสเปกตัมO
อุณหภูมิโดยประมาณมากกว่า30,000K
สีขาวแกมเหลือง
ชนิดสเปกตรัมF
อุณหภูมิโดยประมาณ6,000-10,000
สีเหลือง
ชนิดสเปกตรัมG
อุณหภูมิโดยประมาณ 4,900-6,000 K
สีส้ม
ชนิดสเปกตรัมK
อุณหภูมิโดยประมาณ3,500-4,900K
สีแดง
ชนิดสเปกตรัมM
อุณหภูมิโดยประมาณ2,500-3,500K
กำเนิดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์
:red_flag:กำเนิดดาวฤกษ์
โดยขณะยุบตัวแรงโน้มถ่วงก็จะเพิ่มมากขึ้น
ทำให้อัตรายุบตัวถูกเร่งให้เร็วขึ้นใจกลางของกลุ่มแก๊สจึงมีความหนาแน่น อุณหภูมิสูงขึ้น
กลุ่มแก๊สจะยุบตัวลงอย่างช้าๆเนื่องจากเเรงโน้มถ่วงจากศูนย์กลาง
คือปฎิกิริยาที่ธาตุเบา
เช่นไฮโดรเจนรวมตัวเป็นธาตุมีน้ำหนักมากขึ้น
เกิดจากกลุ่มแก๊สไฮโดรเจนขนาดมหึมาในอวกาศเรียกว่า
เนบิวลา
:red_flag:วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
การสิ้นสุดของดาวฤกษ์ใกล้เคียงดวงอาทิตย์
เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
หลอมไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม
แรงดันเพิ่ม
ผิวด้านนอกขยายตัว
อุณหภูมิลดต่ำลง
ดาวฤกษ์เปลี่ยนเป็นสีแดง
เรียก ดาวยักษ์แดง
ไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
แรงโน้มถ่วงสูงกว่าแรงดัน
ดาวยักษ์แดงยุบตัวลงกลายเป็นดาวแคระขาว
ผิวรอบนอกมีแก็สห่อหุ้ม
คือเนบิวลาดาวเคราะห์
หลอมฮีเลียมเป็นคาร์บอน
แรงดันภายในลด
การสิ้นสุดของดาวฤกษ์ขนาดใหญ่
เมื่อดาวฤกษ์อายุมาก
แกนกลางยุบตัว
แรงโน้มถ่วงมาก
เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
เกิดการระเบิดรุนแรง
เรียกว่าซุปเปอร์นาวา
หลังเกิดซุปเปอร์โนวา
ดาวฤกษ์ยุบตัวลง
ดาวนิวตรอน
อาจกลายเป็นดาวดับความหนาแน่นมหาศาล
เรียกหลุมดำ
🍒ม.5/10 เลขที่14,15,21,24,33