Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กาแล็กซี่ทางช้างเผือก, ทางช้างเผือก ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษ “Milky Way”…
กาแล็กซี่ทางช้างเผือก
ส่วนประกอบ
จาน (Disk) ประกอบด้วยแขนของกาแล็กซี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง ความหนา 1,000 – 2,000 ปีแสง มีดาวฤกษ์ประมาณ 400,000 ล้านดวง องค์ประกอบหลักเป็นฝุ่น แก๊สและประชากรดาวประเภทหนึ่ง (Population I) ซึ่งมีสเปคตรัมของโลหะอยู่มาก
ส่วนโป่ง (Bulge) คือบริเวณใจกลางของกาแล็กซี มีขนาดประมาณ 6,000 ปีแสง มีฝุ่นและแก๊สเพียงเล็กน้อย องค์ประกอบหลักเป็นประชากรดาวประเภทหนึ่งที่เก่าแก่ และประชากรดาวประเภทสอง (Population II) ซึ่งเป็นดาวเก่าแก่แต่มีโลหะเพียงเล็กน้อย
เฮโล (Halo) อยู่ล้อมรอบส่วนโป่งของกาแล็กซี มีองค์ประกอบหลักเป็น “กระจุกดาวทรงกลม” (Global Cluster) ดังในภาพที่ 4 อยู่เป็นจำนวนมาก กระจุกดาวทรงกลมแต่ละกระจุกประกอบด้วยดาวฤกษ์นับล้านดวง ซึ่งล้วนเป็นประชากรดาวประเภทสองซึ่งมีอายุมาก นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่า กระจุกดาวทรงกลมเป็นโครงสร้างเก่าแก่ของกาแล็กซี โคจรขึ้นลงผ่านส่วนโป่งของกาแล็กซี
-
การสังเกตทางช้างเผือก
จะสังเกตได้จะมีดาวฤกษ์บริเวณทางช้างเผือกและใกล้เคียง ด้านซ้ายมือจะสังเกตเห็นกลุ่มดาวนายพราน ขวามือบนของกลุ่มดาวนายพราน คือ กลุ่มดาววัว ซึ่งมีดาวลูกไก่อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ด้านซ้ายมือจะเห็นกาแล็กซีแอนโรเมดา เหนือกาแล็กซีแอนโดรเมดา คือ กลุ่มดาวค้างคาว
ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก
โดยระบบสุริยะอยู่ที่แขนของ กาแล็กซีด้านกลุ่มดาวนายพราน
อยู่ห่างจากศูนย์กลางกาแล็กซีประมาณ 30,000 ปีแสง ดังนั้น กาแล็กซีทางช้างเผือกจึงมีขนาดใหญ่
มีรูปร่างคล้ายกังหัน มีบริเวณกลางสว่าง มีแขนโค้งรอบนอกหลายแขน ระยะขอบหนึ่งผ่านจุดศูนย์กลางไปยังขอบหนึ่งยาว 100,000 ปีแสง ถ้ามองจากด้านบน จะเห็นเหมือนกังหัน
แต่ดูจากด้านข้างจะคล้ายเลนส์นูนหรือจานข้าวประกบกัน
-
กาแล็กซี่ คือ อาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์จำนวนนับแสนล้านดวง
อยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างดวดาวกับหลุมดำที่มีมวลมหาศาล
ซึ่งอยู่ศูนย์กลางของกาแล็กซี่ โดยมีเนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊ส
และฝุ่นละอองที่เกาะอยู่ในที่ว่างบางแห่งระหว่างดาวฤกษ์
กาแล็กซี่เกิดขึ้นหลังจากบิกแบง1,000ล้านปี
เกิดจากลุ่มแก๊สซึ่งยึดเหนี่ยวด้วยแรงโน้มถ่วงแยกเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มก่อกำเนิดเป็นดาวฤกษ์จำนวนมากซึ่เป็นสามาชิกของกาแล็กซี่ กาแล็กซี่ที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่
คือ กาแล็กซี่ทางช้างเผือก
-
-
ทางช้างเผือก ตรงกับศัพท์ภาษาอังกฤษ “Milky Way” ซึ่งแปลว่า “ทางน้านม” ซึ่งเรียกตามนิยายดาวของกรีกว่า เฮอร์คิวลิสผู้ทรงพลังเมื่อครั้งเป็นเด็กได้ดูดน้านมมารดา แต่เนื่องจากมีพลังมากจึงดูดน้านมด้วยความรุนแรงน้านมจึงพุ่งหกเปรอะเปื้อนเป็นทางยาวบนท้องฟ้า สาหรับประเทศอินเดียเห็นเป็น “พระแม่คงคาสวรรค์” ส่วนชนชาติไทยเห็นเป็นทางเดินของช้างเผือกบนสวรรค์ จึงเรียกว่า “ทางช้างเผือก”
ระนาบของกาแล็กซีทางช้างเผือกเอียงทำมุมราว 60 องศาจากระนาบสุริยวิถี (ระนาบของระบบสุริยะ) ซึ่งใจกลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกจะปรากฏอยู่ในทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนู
ดวงอาทิตย์โคจรรอบใจกลางทางช้างเผือก เช่นเดียวกับโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยอัตราเร็วในการโคจรของดวงอาทิตย์อยู่ที่ประมาณ 220 กิโลเมตร/วินาที อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวงโคจรของดวงอาทิตย์รอบใจกลางทางช้างเผือกเป็นระยะทางที่ยาวมาก ดวงอาทิตย์จึงต้องใช้เวลาถึง 225 ล้านปีในการโคจรครบรอบ
-
-
-
นางสาว ศมนพรรณ สารสำเร็จ เลขที่ 26 ม.5/2
นางสาว ภัทรวดี เทอดวงศ์วรกุล เลขที่ 27 ม.5/2
นางสาว ทิพยาภรณ์ ดวงวิสุทธิ์ เลขที่ 30 ม.5/2
นางสาว สโรชา คงเขียว เลขที่ 43 ม.5/2