Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน Birth asphyxia หรือ perinatal asphyxia, นางสาวรุ่งนภา…
ภาวะขาดออกซิเจน Birth asphyxia หรือ perinatal asphyxia
หมายถึงภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถประเมินได้จาก Apgar score น้อยกว่า 8 คะแนนเป็นผลให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซทำให้มีระดับออกซิเจนในเลือดน้อยกว่าปกติ (hypoxia)มีการคั่งขอ'คาร์บอนไดออกไซด์(hypercapnia)และมีการปรับสภาพภายในเป็นพลังงานขึ้นในการดำรงชีวิตทำให้มีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด(metabolic acidosis)
กลไกการเกิดภาวะขาดออกซิเจนมี 4 ประการ
1.การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้องมีการหยุดไหลเลยเวียนหรือไหลเวียนลดลงเช่น สายสะดือย้อย ถุงน้ำคร่ำแตกสาย สะดือไม่โผล่แต่ทารกมากดเบียด ทำให้การไหลเวียนของเลือดหยุดชะงักขึ้น
2.ไม่มีการเปลี่ยนออกซิเจนที่รก เกิดจากรคลอกตัวก่อนกำหนดทำให้รกและเยื่อบุมดลูกแยกต่างจากกันเลือดผ่านรกไม่ได้ทำให้ทารกขาดออกซิเจน
3.มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกไม่เพียงพอเกิดจากมารดามีโรคประจำตัวทางอายุรกรรม เช่นภาวะความดันโลหิตสูงทำให้หลอดเลือดตีบแคบและแข็งตัวทำให้การไหลเวียนเลือดขาดประสิทธิภาพ หรือการตั้งครรภ์เกินกำหนดทำให้มีเนื้อรกตายและมีแคลเซี่ยมมาปกคลุมจำนวนมากทำให้การแลกเปลี่ยนออกซิเจนไปยังทารกลดลง
4.ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่สามารถปรับเปลี่ยนแบบทารกหลังคลอดได้
พยาธิสภาพ
อาการและอาการแสดง
เด็กเคลื่อนไหวมากกว่าปกติเกิดจากที่เด็กต้องการออกซิเจนจึงขยับร่างกายตนเองเพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจน ผลต่อมาก็คือเด็กจะมีการดินที่น้อยลงในครรภ์มารดา
FHS > 160 ครั้ง/นาทีและช้าลง
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
มีคะแนน APGAR ต่ำกว่า 7 คะแนน
ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก ปฎิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้นช้า
การทำงานชของปอดเสีย ทำให้เด็กหายใจหอบ
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือดหัวใจเต้นเร็วผิวซีดหายใจแบบ gasping มี metabolic acidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำลงความดันโลหิตต่ำ
ระบบประสาท ทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตาขยายกว้าง ไม่ตอบสนองต่อแสง
การรักษา
การให้ออกซิเจน
ventilation
เกิดการกระตุ้นทารก (tactile stimulaion) กรณีเด็กหยุดหายใจครั้งแรก เช่น การถู นวด ลูบไปตมอวัยวะของทารก หน้าทารกหรือหลังทารก หรือเช็ดน้ำคร่ำ
การใส่ท่อหลอดลมคอ
ทำให้ทางเดินหายใจโลง clearing the airway
การหนวดหัวใจ (Chest compressiom)
การให้ความอบอุ่น เช่น การทำความสะอาดทารกให้ได้มากที่สุด
การให้ยา (medication) พวกสารน้ำต่างๆหรือยาที่กระตุ้นให้หัวใจเต้นเเรงขึ้ร
การพยาบาล
การเตรียมทีมบุคคลากรแลพเครื่องมือที่พร้อมคลอด
การนำสิ่งคัดหลั้งออกมาใหเได้มากที่สุด
ให้ความอบอุ่นแกร่างกายเพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ประเมิน Apgar score สีผิว ปลายมือปลายเท้า เสียงหายใจ หายใจปีกจมูกบาน
การให้ยาตามแผนการรักษา
การดูแลให้พักผ่อน
ส่งเสริมสัมพันธ์ภาพระหว่ามารดากับลูก
สรุปการจำแนกตามความรุนแรง.
Mild asphyxia ประเมิน Apgar score 5-7 คะแนน ดูแลโดย ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ
Moderate asphyxia ให้ออกซิเจน (cannula) 100% เมื่อดีขึ้นจึงใส่ feeding tube เข้ากระเพาะเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นใส่ ET tube และยวดหัวใจ
Severe asphyxia ในการช่วยเหลือโดยจะใส่ ET tube ทันทีหลังคลอดให้ออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกับการนวดหัวใจ
นางสาวรุ่งนภา อินทร์ทิม 611001041