Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia), ทารก, นางสาวสุภาวรรณ…
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia)
หมายถึง หมายถึงภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มีระดับออกซิเจนในเลือด
ต่ำ(hypoxia) มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์(hypercapnia)และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด(metabolic acidosis)
กลไกการเกิด
1.การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง เช่น
สายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด
2.ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก เช่น รก
ลอกตัวก่อนกำหนด ( abruptio placenta) รกมีเนื้อตาย(placenta infarction)
3.มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
เช่น มารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูง มารดามีอาการช็อค สูญเสียเลือด ซีด
4.ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่เปลี่ยนเป็นทารกหลังคลอดได้ เช่น มีทางเดินหายใจอุดตัน
มีน้ำ คั่ง ในปอด มีความสามารถในการหายใจไม่สมบูรณ์
พยาธิสรีรภาพ
ทารกมีภาวะขาดออกซิเจน ----> ร่างกายไม่สามารถดูดซึมออกซิเจนได้---->ออกซิเจนในกระแสเลือดต่ำ (ระดับแรงดันเท่ากับหรือน้อยกว่า 40 mmHg)---->มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (มีระดับแรงมากกว่า 80 mmHg)---->จะมีเลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อยลง---->อัตราการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอและมีการหายใจแบบขาดอากาศ(gasping) ประมาณ 1 นาที----> ร่างกายมีภาวการณ์เผาพลาญเป็นกรด(metabolic acidosis)
การรักษา
การให้ความอบอน
2.ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway)
3.การกระตุ้นทารก(tactile stimulation)
การให้ออกซิเจน
การช่วยหายใจ(ventilation)การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
ข้อบ่งชี้
1) หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
2) อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100คร้ัง/นาที
3) เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
การประเมินว่าการช่วยหายใจเพียงพอหรือไม่
1) การขยายของปอดทั้งสองขา้ง โดยดูจากการเคลื่อนไหวของหน้าอกทั้งสองข้างและฟังเสียงการหายใจ
2) การมีสีผิวที่ดีขึ้น
3) อัตราการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
6.การใส่ท่อหลอดลมคอ
ข้อบ่งชี้
1) เมื่อต้องช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกเป็นเวลานาน
2) เมื่อช่วยหายใจด้วย mask และ bagแล้วไม่ได้ผล
3) เมื่อตอ้งการดูดสิ่งคัดหลั่งในหลอดลมคอ กรณีที่มีขี้เทาปนเปื้อนน้ำคร่ำ
4) เมื่อต้องการนวดหัวใจ
5) ทารกมีไส้เลื่อนกระบงัลม หรือน้ำหนักตัวน้อยกว่า1,000 กรัม
การนวดหัวใจ(Chest compression)
8.การให้ยา (medication)
Epineprine ใช้เมื่อช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% 60คร้ัง/นาทีใช้ยาเข้มข้น 1 :10,000 ปริมาณ 0.01-0.03 มล./ ก.ก. ให้ผ่านทางหลอดเลือดจะได้ผลเร็วกว่าให้ทางท่อหลอดลมคอ
สารเพิ่มปริมาตร (volume expanders) ใช้เมื่อทารกมีภาวะ โดยให้ hypovolemicน้า เกลือนอร์มอล(NSS) หรือ Ringer’s lactateหรือ packed red cell ขนาด 10 มล./ก.ก. ในเวลา5-10นาที
Naloxone hydrochroride (Narcan)เป็นยาต้านฤทธิ์ยาเสพติดที่ไม่กดการหายใจใช้กับทารกที่มารดาได้รับยากลุ่มยาเสพติดที่กดการหายใจภายใน 4 ชั่วโมงก่อนคลอด ให้ขนาด 0.1 มก./ก.ก. หรือ 0.25 มล./ ก.ก.
การวินิจฉัย
1.ประวัติการคลอด
2.การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR พบการเปลี่ยนแปลงตามลำดับ ดังนี้
-สีผิว
-อัตราการหายใจ (ไม่สม่ำสมอไปจนหยุดการหายใจ)
-การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
-การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
-อัตราการเต้นของหัวใจ
3.อาการและอาการแสดง
4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติอัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160คร้ัง/นาทีต่อมาจึงช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
1.การเปลี่ยนแปลงในปอด ทำให้หายใจหอบ ตัวเขียว
2.การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบ gasping มีmetabolic
acidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำลง ความดันโลหิตต่ำ
3.การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท ส่งผลให้ทารกสูญเสียกล้ามเนื้อ ชัก ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
4.การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร ทำให้ท้องอืดมาก เยื่อบุลำไส้ถูกทำลาย หากรุนแรงจะเสี่ยงต่อการเกิดลำไส้อักเสบเน่าตาย (NEC)
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม มีผลทำให้ทารกชักและเสียชีวิต
6.ทารกจะมีปัสสาวะน้อยลง
หรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
7.ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1)ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 < 40mmHg, pH < 7.1
2) ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
3) ค่าของ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
4) ค่าของ potassium ในเลือดสูง
การพยาบาล
1.เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสัยว่าจะเกิด asphyxia
ดูดสิ่งคดัหลั่ง ให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ริมฝี ปากและปลายมือปลายเท้าซีด เขียว หายใจปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม หรืออาการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูแลให้พักผ่อน
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ความรุนแรง
mild asphyxia
mild asphyxia ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ ให้ออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนหรือ maskถ้าอาการดีขึ้น มีคะแนน APGAR ที่5 นาที >8 คะแนนให้ดูแลต่อเหมือนทารกทั่วไป ถ้าคะแนน APGAR ที่5 นาที < 4 คะแนน ดูแลเหมือนทารกที่มีภาวะmoderate asphyxia
2.moderate asphyxia
ให้ออกซิเจน 100% และช่วยหายใจด้วย mask และbag เมื่อดีขึ้น จึงใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจนาน 30 วินาที
3.severe asphyxia
ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีที่คลอดเสร็จ โดยใส่ ET tubeและช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกบัการนวดหวัใจ ถ้าไม่ดีขึ้นจึงรักษาด้วยยา
นางสาวสุภาวรรณ สังข์โชติ รหัส611001059