Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด (birth asphyxia),…
การพยาบาลภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด (birth asphyxia)
📌ความหมาย
ภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผลให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซ ทำให้มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxia) มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์(hypercapnia) และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด(metabolic acidosis)
📌อาการและอาการแสดง
🤰🏻ระยะตั้งครรภ์หรือระยะก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมามีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ
FHS ในระยะแรกจะเร็วมากกว่า160 ครั้ง/นาที ต่อมาช้าลง
👶🏻ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ(Meconium stained amniotic fluid, MSAF)
👶🏻ระยะหลังคลอด
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อยลง
ไม่ถ่ายปัสสาวะ
hematuria
การเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิซึม
เกิดภาวะhypoglycemia แคลเซี่ยมต่ำ โปแตสเซียม→ทารกชัก→เสียชีวิต
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด
หัวใจเต้นเร็ว ผิดซีด หายใจแบบgasping มี metabolic acidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำ ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในปอด
ทารกคลอดครบกำหนดเกิดภาวะ(Persistent Pulmonary Hypertension of the Newborn : PPHN) และ ทารกคลอดก่อนกำหนด เกิดภาวะRespiratory Distress Syndrome
ระบบประสาท
Hypoxic ischemic encephalopathy (HIE) →สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อ ชัก ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
ถ้าขาดออกซิเจนนาน จะซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้า ม่านตาขยายไม่ตอบสนองต่อแสง ไม่มีDoll's eye movement มักเสียชีวิตลง
ระบบทางเดินอาหาร
ลำไส้ตอบสนองต่อO2ลดลงทำให้หยุดทำงาน เกิดอาการท้องอืด หากรุนแรงอาจเกิดลำไส้เน่าตาย(NEC)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า arterial blood gas คือ PaCO2>80 mmHg.,PaO2<40 mmHg,PH<7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด30mg%
ค่าของcalcium<8 mg%
ระดับ potasssium ในเลือดสูง
📌การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
📌การรักษาจำแนกความรุนแรงของภาวะขาดออกซิเจน
mild asphyxia
ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ ให้ออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนหรือ maskถ้าอาการดีขึ้น มีคะแนน APGAR ที่5 นาที >8 คะแนน ให้ดูแลต่อเหมือนทารกทั่วไป ถ้าคะแนน APGAR ที่5 นาที < 4 คะแนน ดูแลเหมือนทารกที่มีภาวะ moderate asphyxia
moderate asphyxia
ให้ออกซิเจน 100% และช่วยหายใจด้วย mask และbag เมื่อดีขึ้นจึงใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่วยหายใจนาน 30 วินาที ใส่ ET tubeและนวดหัวใจ
severe asphyxia
ให้การช่วยเหลือโดยช่วยหายใจทันทีที่คลอดเสร็จ โดยใส่ ET tubeและช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกับการนวดหัวใจถ้าไม่ดีขึ้นจึงรักษาด้วยยา
✅การช่วยเหลือที่ดีจะพบการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของลักษณะทารกตามลำดับ
1) อัตราการเต้นของหัวใจทารก
2) การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
3) ลักษณะสีผิว
4) อัตราการหายใจ
5) การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
🚑การพยาบาลทารกที่มีภาวะขาดออกซิเจนเมื่อแรกคลอด (Birth asphyxia)🚑
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสัยว่าจะเกิด asphyxia
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ริมฝีปากและปลายมือปลายเท้าซีด เขียว หายใจปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม หรืออาการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เพื่อให้การช่วยเหลือ และปรึกษาแพทย์ต่อไป
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้า ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้พักผ่อน
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
10.ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
💊💉การรักษา
การให้ความอบอุ่น เช่น ดูแลทารกภายใต้radiant warmer ,เช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็วด้วยผ้าแห้ง, skin to skin contact
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway)กรณีไม่มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ→หลังจากศีรษะทารกคลอด ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก
กรณีมีขี้เทา →ต้องรีบดูดขี้เทาออกทันทีที่ศีรษะทารกคลอด ถ้าทารกไม่หายใจ ตัวอ่อน หัวใจเต้นช้ากว่า100ครั้ง/นาที ใส่endotracheal tube ดูดขีเทาให้มากที่สุด แต่ไม่จำเป็นต้องให้หมดแต่ควรช่วยหายใจด้วยความดันบวก
การกระตุ้นทารก(tactile stimulation) การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูก ❗หากยังไม่ร้องให้→ ลูบบริเวณหลัง หน้าอก ดีดส้นเท้าทารก
การให้ออกซิเจน100% ในทารกที่มีตัวเขียว อัตราการเต้นของหัวใจช้า หรือมีอาการหายใจลำบาก
5.การช่วยหายใจ(ventilation)การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก โดยใช้mask และ bag ❗ข้อบ่งชี้คือ 1) หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping 2) อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า100ครั้ง/นาที
3) เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
การใส่ท่อหลอดลมคอ
การนวดหัวใจ(Chest compression) มีข้อบ่งชี้ คือ อัตราการเต้นของหัวใจ ทารกยังคงน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาทีขณะที่ได้ช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% นาน 30วินาที
การให้ยา (medication)
Epineprine ใช้เมื่อช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% และนวดหัวใจนานเกิน 30วินาทีแล้วอัตราการเต้นของหัวใจยังคงน้อยกวา่ 60คร้ัง/นาที
สารเพิ่มปริมาตร(volume expanders) ใช้เมื่อทารกมีภาวะ hypovolemic
Naloxone hydrochroride (Narcan) เป็นยาต้านฤทธิ์ยาเสพติดที่ไม่กดการหายใจ ห้ามให้ในทารกที่เพิ่งเกิดจากมารดาที่สงสัยติดยาเสพติด อาจเกิดอาการถอนยาและชักได้
📌😢กลไกการเกิด
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก ซึ่งเกิดจากรกมีการแยกตัวออกจากมดลูก
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ ไม่สามารถปรับเป็นแบบทารกหลังคลอดได้
📌พยาธิสภาพ
แรกคลอดหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
PaO2ในเลือด<40 mmHg. ,เกิดการคั่งของ PaCO2>80 mmhg กลไกการปรับตัวของร่างกาย
เลือดไปเลี้ยงสมอง หัวใจ และต่อมหมวกไต
อวัยวะอื่นมีเลือดไปเลี้ยงลดลง ผิวซีดปลายมือปลายเท้าซีด peripheral cyanosis
หายใจแบบขาดอากาศ(gasping) ประมาณ 1 นาที
หายใจไม่สม่ำเสมอ และหัวใจเต้นช้าลง
ได้รับการแก้ไข: ได้รับO2 กระตุ้นการร้อง
กลับเป็นปกติ
ไม่ได้รับการแก้ไข/แก้ไขไม่ทัน
primary apnea
ช่วยกู้ชีวิต
ไม่ได้ช่วยกู้ชีวิต : หายใจไม่สม่ำเสมอ 4-5 นาที
หยุดหายใจอย่างถาวร(secondary apnea)
1 more item...
📌ปัจจัยเสี่ยง
ก่อนคลอด
-GA < 36 weeks / GA > 41 weeks
-HT Preeclampsia Eclampsia
-ครรภแฝด ทารกในครรภ์บวมน้ำ
-ทารกตัวใหญ่/เล็ก พิการ มารดาไม่ฝากครรภ์
-Oligohadramnios / Polyhydramnios
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ
-เครื่องดูดสุญญากาศ
-การผ่าคลอด
-คีม
ระหว่างคลอด
-เลือดออกมากผิดปกติ การเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ
-รกลอกตัวผิดปกติ การติดเชื้อของรกและถุงน้ำคร่ำ
-น้ำคร่ำมีขี้เทาปน สายสะดือย้อย
-มารดาดมยาสลบ GA หรือ ยาระงับปวด Mg
-ท่าผิดปกติ คลอดติดไหล่
การควบคุมอุณหภูมิร่างกายไม่ดี
สิ่งแวดล้อมที่มีอุณหภูมิร่างกายต่ำ
ทารกมีการเคลื่อนไหว เพิ่ม metabolism
ต้องใช้ออกซิเจนจำนวนมากแต่ร่างกายขาดออกซิเจน
hypothemia
hypoglycemia
↓
↓
↓
ไม่เกิน 8 นาที หากไม่ได้รับการแก้ไข เมื่อมีsigns ทารกอาจเสียชีวิตได้