Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการของโรคในระบบทางเดินหายใจ, 61108031 นางสาววิภาดา วาเด็ง …
กลุ่มอาการของโรคในระบบทางเดินหายใจ
การซักประวัติและตรวจร่างกายของโรคในระบบทางเดินหายใจ
อาการสำคัญ (Chief Complaint)
อาการเพียง 1-2 อาการ +ระยะเวลาเกิดอาการที่ทำให้ผู้ป่วยต้องมาโรงพยาบาล
ได้แก่
อาการไอ เจ็บคอ มีไข เจ็บหน้าอก หายใจลาบาก เหนื่อย
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present illness)
ถามต่อจากอาการสำคัญ โดยถาม ตั้งแต่เริ่มต้นของการเจ็บป่วยจนถึงปัจจุบันตามลาดับเวลา อาจรวมถึงอาการที่หายไปแล้วแต่มีความสำคัญต่อการเจ็บป่วยปัจจุบัน
อาการนั้นเป็นมานานเท่าใด หรือเริ่มเป็นตั้งแต่เมื่อใด
ลักษณะอาการขณะเกิดโรคเป็นอย่างไร
วิธีเกิด (onset)
เกิดทันที (acute)
ค่อยเป็นค่อยไป (insidious)
เรื้อรัง (chronic)
ลักษณะอาการ (characteristics)
รายละเอียดหรือลักษณะเฉพาะของอาการที่เกิดขึ้น
ไอแห้งๆ
ไอมีเสมหะ
ไอเป็นเลือด
ตำแหน่ง (location)
ให้ผู้ป่วยชี้ตำแหน่งที่ถูกต้อง
ปวดหน้าผาก ดั้งจมูก ให้นึกถึง ไซนัสอักเสบ
อาการปวดร้าว (radiation or referred pain)
เจ็บหน้าอกบริเวณไหนมีร้าวไปที่ไหนหรือไม่
จังหวะการเป็น (rhythm)
อาการเป็นติดต่อกันหรือไม่ระยะเวลาของการมีอาการแต่ละครั้ง
ไข้ตลอดเวลา นึกถึงปอดอักเสบ วัณโรค ไข้เลือดออก
ความรุนแรง (severity)
ขึ้นอยู่กับ บุคลิกลักษณะ อายุ เชื้อชาติ ประสบการณ์ ฐานะทางเศรษฐกิจ
ระยะเวลาที่เกิด(timing)
ไอเฉพาะตอนเช้า
ไอเมื่ออากาศเปลี่ยนแปลง
ไอเมื่อทำกิจกรรมใช้ออกแรง
อาการร่วมอื่นๆ
หายใจลำบาก
เจ็บหน้าอก
สำลัก
การดำเนินโรคตั้งแต่เริ่มมีอาการเป็นอย่างไร
จำนวนของการ เกิดอาการ
การเปลี่ยนแปลงของอาการต่างๆ ดี ขึ้นหรือเลวลง
อะไรที่ทำให้เป็นมากขึ้น หรืออะไรที่ทำให้เป็นน้อยลง
เจ็บหน้าอกเมื่อขึ้นบันไดสูงหยุดแล้วดีขึ้น
ไอบ่อย ดื่มน้ำอุ่นแล้วอาการดีขึ้น
เหตุการณ์และสิ่งนำ
ไอเมื่ออากาศเย็นหรือสูบบุหรี่
อาการร่วมอื่นๆ
ไข้ ร่วมกับออกผื่น
รักษา กินยา หรือดูแลตัวเองอย่างไรบ้าง
สิ่งที่ควรซักประวัติในระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ
มีเสมหะ
มีน้ำมูก
เจ็บคอ
อาการเจ็บหน้าอก
อาการหายใจลาบาก
เหนื่อย
อาการเสียงแหบ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (past history)
เป็นประวัติการเจ็บป่วยในครั้งก่อนๆของผู้ป่วย
อาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับการเจ็บป่วยในครั้งนี้
ประวัติการเจ็บป่วยทั่วไป
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการได้รับอุบัติเหต
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว (family history)
ประวัติโรคทาง พันธุกรรม
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ภาวะพร่องเอนไซม์
ธาลัสซีเมีย
มะเร็ง
ฮีโมฟีเลีย
ประวัติโรคติดเชื้อ
ไข้หวัด
วัณโรค
ไข้เลือดออก
หัด
ประวัติส่วนตัว (personal history)
การนอนหลับ
การดื่มชา/กาแฟ
การออกาลังกาย
การเดินทาง
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
respiratory system
ช่วยนาออกซิเจนจากบรรยากาศเข้าไปสู่เลือด
รับคาร์บอนไดออกไซด์จากเลือดออกมาสู่บรรยากาศภายนอก
แบ่งเป็น 2 ส่วน
1) ส่วนที่เป็น ทางผ่านของอากาศ
จมูก (nose)
โพรงจมูก (nasal cavity)
คอหอยหรือหลอดคอ (pharynx)
กล่อง เสียง (larynx)
หลอดลม (trachea)
หลอดลมแยก (bronchi)
หลอดลมฝอย/หลอดลมฝอยส่วนปลาย (bronchiole/terminal bronchiole)
2) ส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ท่อที่ต่อมาจากหลอดลม ฝอย/หลอดลมฝอยส่วนปลาย (respiratory bronchiole)
ถุงลม
ท่อถุงลม (alveolar duct)
2 ส่วน
1) ทางเดินหายใจส่วนบน
จมูกจนถึงกล่องเสียง
เป็นทางผ่านของอากาศ
2) ทางเดินหายใจส่วนล่าง
่หลอดลม ไปจนถึงหลอดลมฝอยส่วนปลาย
การตรวจร่างกายในระบบทางเดินหายใจ
การดู (Inspection)
ดูรูปร่างและขนาดของทรวงอก
ดูจากด้านหลัง
ด้านข้าง
ด้านหน้า
บริเวณฐานของคอ
อกถัง (Barrel chest)
โองหรือถังเบียร์
อัตราส่วน1:1
โรคปอดอุดกั้น เรื้อรัง หรือหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
อกไก่(Pigeonchest)
กระดูกกลางหนาอกโปงยื่นออกมา
พบในผู้ที่เป็นโรคกระดูกอ่อน
อกบุม(Funnelchest)
โรคปอดเรื้อรัง
atelectasis
หลังโกง (Kyphosis)
เนื้องอก
วัณโรค
กระดูกผุ
หลังคด (scoliosis)
การฟัง
โดยใช้หูฟัง stethoscope
เสียงหายใจ
หลอดลมใหญ่ (Bronchial )
เสียงขณะหายใจเข้าสั้น หายใจออกยาว
เสียงหลอดลมและถุงลม
เสียงถุงลม
เสียงผิดปกติ
เกิดจากความผิดปกติของหลอดลมและถุงลม
Crepitation พบในหลอดลมและถุงลมขนาดเล็กๆ
ได้ยินเสียงกรอบแกรบ
เหมือนขยี้ผมใกล้ๆหู
Rhonchi พบบริเวณหลอดลม
เกิดจากการบวม หรือมีเสมหะ
ได้ยินคล้ายเสียงกรน
Wheeze พบบริเวณหลอดลม
เกิดจากการเกร็ง บวม หรือตีบแคบของกล้ามเนื้อหลอดลม
Friction rub or Plural rub
เยื่อหุ้มปอดเสียดสีกัน
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
ความก้องของเสียง
คนปกติจะมีเสียงก้องของปอดทั้งสองข้างเท่ากัน
ได้ยินเสียงดังและชัดกว่าปกติ
“bronchophony”
พบได้ในภาวะ “consolidation”
ได้ยินน้อยกว่าปกติ
“whispering pectoriloguy”
พบได้ในผู้ป่วยที่มีของเหลวหรือลมมากั้น
การคลำ
การคลำทั่วไป
หาตำแหน่งที่เจ็บหรือผิดปกติ
มีก้อน
แผล
ฝี
การคลาการสั่นสะเทือนของเสียงสะท้อน
เป็นการใช้ฝ่ามือทั้งสอง ข้างวางบนหน้าอกด้านหน้าและด้านหลังในตำแหน่งที่ตรงกัน จากบนลงล่าง และให้ผู้ป่วยนับเลข หนึ่ง สอง สาม ในแต่ละจุด
การคลำเพื่อดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกและปอดทั้งสองข้าง
การเคาะ
เปรียบเทียบความทึบของปอดทั้งสองข้าง
การเคาะด้านหลังทรวงอก
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
เคาะจากช่องซี่โครงด้านบน
ลงมาด้านล่าง อาจเคาะสลับซ้ายขวา
การเคาะด้านหน้าทรวงอก
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย
เคาะตั้งแต่บริเวณใต้กระดูกไหปลาร้า
การเคาะด้านข้าง
ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงฝั่งตรงกันข้ามกับด้านที่จะเคาะ
เคาะระหว่างซี่โครงใต้รักแร้ลงมา
กลุ่มโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ
หลอดลมฝอยอักเสบเฉียบพลัน (Acute bronchiolitis)
อาการนำ
ไข้
หายใจ หอบเหนื่อย
หายใจลาบาก
อาการร่วม
ไข้ต่ำๆ
ไอแห้งๆ
มีเสมหะ
ไอมากตอนกลางคืน
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอดได้ยิน
เสียง rhonchi
wheezing พบ decrease breat sound
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง respiratory syncytial virus (RSV) enterovirus
parainfluenza virus
influenza virus
adenovirus,
human metapneumovirus
enterovirus
การติดเชื้อทำให้เซลล์ขนกวัดเกิดการบวมและทำงานผิดปกติ
เยื่อบุชั้น mucosa ของหลอดลมฝอยบวม มีการสร้างสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้น
มีการหนาตัวของผนังหลอดลม ฝอย มีการหลุดลอกของเซลล์เข้าสู่ท่อลมขนาดเล็ก ทาให้ เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจขณะหายใจออก ทาให้มี ลมค้างในปอด
ระยะฟักตัว 1-3 วัน
อาการแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
ถุงลมพอง
การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อ
รักษาตามอาการ
Paracetamol
Chlorpheniramine
Ammon mixt
ให้ยาสมุนไพร
ฟ้าทลายโจร
ยาอมมะแว้ง
ปอดอักเสบ (Pneumonia)
อาการร่วม
ไข้สูง หนาวสั่น
ไอแห้งๆ หรือมีเสมหะ
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s พบหายใจเร็วกว่าปกต้
ฟังปอด ได้ยินเสียง crepitation
อาจมีเจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้าแรงๆ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
การสูดดมสารเคมี
Streptococus pneumoniae
Haemophilus influenzae
Mycoplasma pneumoniae
มีการอักเสบที่ผนังถุงลมและ เนื้อเยื่อรอบๆ ปอด ซึ่งมักเกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะการ อักเสบเป็นแบบ patchy infiltration ทั่วทั้งกลีบปอด ซึ่ง อาจอยู่ข้างใดข้างหนึ่ง หรือกระจายไปทั้งสองข้าง ทำให้มี การทาลายเยื่อบุทางเดินหายใจ มีการบวม สร้างเสมหะ มากผิดปกติ ผนังถุงลมบวม หนาตัวขึ้น และมีการแทรก ซึมด้วยกลุ่มเซลล์เม็ดเลือดขาว
การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที รวมทั้งวัด สัญญาณชีพ และดูภาวะ ฉุกเฉิน (ABCs)
หอบหืด (Asthma)
อาการร่วม
ไอมีเสมหะ เหนียว ไอมากตอน กลางคืน
คัดจมูก มี อาการของไข้หวัด
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอด ได้ยิน เสียง wheezing
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากหลอดลมที่มีความไวต่อสิ่งเร้าร่วมกับการอักเสบ ของหลอดลม ซึ่งพบในคนที่เป็นภูมิแพ้ โดยมักมีอาการ เมื่อสัมผัสสิ่งกระตุ้นหรือสิ่งที่ทาให้เกิดการแพ้ เช่น ไข้หวัด ไซนัสอักเสบ หลอดลมอักเสบ ความเครียด การ รับประทานยากลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
สัมผัสกบสารก่อภูมิแพ้ จะ กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้ T lymphocytes ถูกกระตุ้น เกิดการสร้าง antigen specific lgE ทาให้ร่างกายตอบสนองต่อสารก่อ ภูมิแพ้โดยกระตุ้น mast cells และ macrophage ให้ หลั่งสาร histamine, eicosanoid และ reactive oxygen ทาให้กล้ามเนื้อหลอดลมหดเกร็ง หลั่งน้ามูก เพิ่มขึ้น และหลอดเลือดขยายตัว
การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที รวมทั้งวัด สัญญาณชีพ และดูภาวะ ฉุกเฉิน (ABCs)
พ่นยาขยายหลอดลม
TB
อาการนำ
ไข้หวัด
น้ามูกไหล
อาการร่วม
ปวดหู หูอื้อ
มีไข้เกิน 7 วัน
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอดอาจพบหรือไม่พบความผิดปกติ
ตรวจคอ อาจ พบหรือไม่พบคอ หรือทอนซิลแดง มาก ทอนซิลอาจมี หรือไม่มีจุดหนอง
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียในระบบหายใจ และ/ หรือระบบอื่นๆ ของร่างกาย
การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง ให้ ยาบรรเทาอาการ เช่น Paracetamol
ไข้หวัด (Common cold)
อาการร่วม
อ่อนเพลียเล็กน้อย
น้ำมูกหรือเสมหะขาวใส
อาจมีคอแดงเล็กน้อย ทอนซิลโตเล็กน้อย
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอด
ตรวจคอ จมูก
เคาะบริเวณไซนัส
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อไวรัส กลุ่ม Rhinovirus
ภาวะแทรกซ้อน
ทอนซิลอักเสบ
ไซนัสอักเสบ
หูชั้นกลางอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
การรักษาโรคเบื้องต้น
มีน้ามูกหรือเสมหะเป็น สีเหลืองหรือเขียวเกิน 24 ชั่วโมง ปวดหู หูอื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ
Amoxycillin
Erythromycin 5-7 วัน
รับประทานเกิน 3 วันแล้ว อาการไม่ดีขึ้น ให้ส่งต่อ ภายใน 24 ชั่วโมง
ลดอาการคัดจมูกและ น้ามูกโดยใช้หอมแดงปอก เปลือกทุบแล้วต้มในน้าร้อน ผสมน้าอาบ
ไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
อาการร่วม
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ
ไอแห้งๆ
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอด
ตรวจคอ จมูก
เคาะบริเวณ ไซนัส
ภาวะแทรกซ้อน
เช่นเดียวกับไข้หวัด
การรักษาโรคเบื้องต้น
เช่นเดียวกับไข้หวัด
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อไวรัส Influenza มี 3 ชนิด (type) คือ A, B และ C ไวรัสชนิด A เป็นชนิดที่ทาให้เกิดการระบาดทั่ว โลก ไวรัสชนิด B ทาให้เกิดการระบาดในพื้นที่ระดับ ภูมิภาค ส่วนชนิด C มักเป็นการติดเชื้อที่แสดงอาการ อย่างอ่อนหรือไม่แสดงอาการ
ระยะฟักตัว 1-4 วัน อาการจะหายได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ เชื้อแพร่กระจายทางเดียวกับไข้หวัด
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
อาการร่วม
มึนๆ หนักๆ บริเวณหัวตา หน้าผากโหนกแก้ม รอบๆกระบอกตา
กลืนน้าลายแล้ว มีกลิ่นคาว
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
v/s ไม่มีไข้ หรือ ไข้ต่ำๆ
มีอาการตอน เช้า/เวลาก้มศีรษะ เปลี่ยนท่า
ตรวจจมูก พบ เยื่อบุจมูกบวมแดง
เจ็บคอ มีเสมหะ สีเหลืองหรือเขียว
เคาะตาแหน่ง ไซนัสแล้วเจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
การติดเชื้อบริเวณนี้ทาให้เกิดการบวมของเยื่อบุใน โพรงไซนัส ส่งผลให้เกิดการระบายอากาศอุดตัน ส่งผลให้ เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง ทาให้ความดันในโพรงอากาศ เป็นลบ เมื่อมีการจาม สูด หรือสั่งน้ามูก ทาให้เชื้อ แบคทีเรียที่อยู่ในคอหอยส่วน nasopharynx มีโอกาสเข้า ไปในโพรงอากาศข้างจมูกได้ง่าย นอกจากนี้การติดเชื้อทา ให้การทางานของเซลล์ขนกวัดผิดปกติ
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาตามอาการเหมือน ไข้หวัด
ให้ยาปฏิชีวนะ
Amoxycillin
Erythromycin นานอย่าง น้อย 14 วัน
ล้างจมูกด้วย 0.9%NSS
ป้องกันโดยหลีกเลี่ยงสิ่งที่มี ผลทาให้ไซนัสอักเสบ
ไข้หวัด
สิ่งกระตุ้นภูมิแพ้
ภาวะเครียด
ทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)
อาการร่วม
ทอนซิลบวมแดง มาก หรือเป็นจุดหนอง
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอด
ตรวจคอ จมูก พบทอนซิลแดงมากหรือมีจุดหนอง
เคาะบริเวณไซนัส
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส และ/หรือแบคทีเรียชื่อ Streptococcus pyogenes เมื่อมีการติดเชื้อต่อทินซิล จะโตและแดงจัด อาจพบมีแผ่นสีขาวปกคลุมบริเวณต่อม ทอนซิล หรือพบแผลและการตายของเนื้อเยื่อฝังลึกใน ต่อมทอนซิล หากต่อมพาราทีนทอนซิลโตและบวมมาก ทาให้อุดกั้นทางเดินอาหารและอากาศ ทาให้กลืนลาลาก และหายใจลาบาก
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
ให้ยาปฏิชีวนะ
Pennisillin
Amoxycillin
Erythromycin 7-10 วัน โดยหากให้ยาปฏิชีวนะ รับประทานเกิน 3 วัน
คออักเสบ (Pharyngitis)
อาการร่วม
เจ็บคอ
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอด
ตรวจคอ บริเวณ oropharynx มีสี แดงเข้มกว่าจุดอื่นๆ หรือมีอาการบวม แดงมาก มีหนอง
เคาะบริเวณไซนัส ไม่เจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากการติดเชื้อ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส รองลงมา คือแบคทีเรีย ในกลุ่ม Group A streptococcus (GAS) นอกจากนี้ยังมสีาเหตุอื่นที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อเช่น การสูบบุหรี่ การสูบบุหรี่ มือสอง โรคกรดไหลย้อน สาร ก่อภูมิแพ้ และอากาศที่เย็นชื้น
ภาวะแทรกซ้อน
โรคหัวใจ Rheumatic fever
หนองที่ ต่อมทอนซิล
ไตอักเสบ Poststreptococcal glomerulonephritis
Scarlet fever
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
คางทูม (Mumps)
อาการร่วม
ปวดในรูหู หลังใบหู
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ต่อมน้ำเหลือง บริเวณคอและหูโต
ต่อมน้ำลายอักเสบ บวมโต
อาจเป็นข้างเดียว หรือสองข้างก็ได้
ในผู้ชายมักพบ ต่อมน้าเหลือง บริเวณขาหนีบโต
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อไวรัส ชื่อ mumps virus ซึ่งเป็นไวรัสในกลุ่ม Paramyxovirus
พบบ่อยในเด็ก 4-15 ปี มีระยะฟักตัว 1-3 สัปดาห์ โดย เฉลี่ย 2 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
Pancreatitis
Orchitis
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
หัดเยอรมัน (Rubella)
อาการนำ
ไข้
ผื่น
อาการร่วม
พบผื่นสีชมพูอ่อน
2.ไข้ต่ำ
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
v/s พบไข้สูง
ฟังปอด พบปกติ
ตรวจคอ จมูกพบปกติ
เคาะไซนัสไม่เจ็บ
อาจพบต่อม น้าเหลืองบริเวณ ใบหน้า ลำคอ และ ขาหนีบโต
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากไวรัสกลุ่มรูเบลลา (Rubella) ระยะฟักตัว 1-2 วัน มีผื่นขึ้นพร้อมไข้ต่าๆ ผื่นอาจคันหรือไม่คันก็ได้ และจะ หายไปเองภายใน 3 วัน เชื้อแพร่กระจายทางเดียวกับ ไข้หวัด
ภาวะแทรกซ้อน
หญิงตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก อาจทาให้ทารกในครรภ์พิการ
การรักษาโรคเบื้องต้น
วัคซีนป้องกัน
หลอดลมอักเสบ เฉียบพลัน (Acute bronchitis)
อาการร่วม
ไข้ต่ำๆเกิน 4 วัน
ไอมากตอน กลางคืน อาจเจ็บหน้าอกเพราะไอมาก หลังเป็น 4-5 วัน อาจมีเสมหะเหนียวสีขาว เหลืองหรือเขียว
การซักประวัติและตรวจร่างกาย
วัด v/s
ฟังปอดได้ยินเสียง rhonchi หรือ wheezing
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเดียวกับไข้หวัด มักพบหลังไข้หวัด หรือไข้หวัดใหญ่ มักหายได้เองใน 1-3 สัปดาห์ เชื้อแพร่กระจายทางเดียวกับไข้หวัด
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
ส่งต่อ
อีสุกอีใส (Chickenpox)
อาการร่วม
ไข้ต่ำหรือไข้สูง
มีผื่นแดงหลังมี ไข้ 1 วัน ต่อมาผื่น แดงเป็นตุ่มน้าใส
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
v/s พบไข้ต่ำหรือสูง
คันบริเวณที่เป็นผื่น
พบผื่นแดงหลังมี ไข้ 1 วัน ต่อมาผื่นแดงเป็นตุ่มน้ำใส
ตรวจคอ จมูกพบปกติ
เคาะไซนัสไม่เจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อ วาริเซลลา ซอสเตอร์ ไวรัส (Varicella Zoster Virus: VZV) ระยะฟักตัว 10-21 วัน โดยผู้ป่วย จะเริ่มแพร่เชื้อตั้งแต่มีอาการ 1-2 วัน เชื้อแพร่กระจาย ผ่านทางการสัมผัสกับแผลของผู้ป่วยที่เป็นโรคโดยตรง ทางน้าลาย ไอ จาม หรือการหายใจเอาเชื้อที่ปะปนใน อากาศเข้าไป
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
หัด (Measles)
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
อาการร่วม
พบจุดค็อปลิก (Koplik’s spot)
พบผื่นแดงหลัง ไข้สูง 2-3 วัน
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
v/s พบไข้สูง
พบจุดค็อปลิก (Koplik’s spot) ที่ กระพุ้งแก้ม หลังไข้ สูง 2-3 วัน
ฟังปอดพบปกติ
ตรวจคอ จมูกพบปกติ
เคาะไซนัสไม่เจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากไวรัสกลุ่มพารามิคโซไวรัส (Paramyxovirus)
ระยะฟักตัว 10-12 วัน ภายหลังพบจุดค็อปลิก 1 วัน จะ มีผื่นขึ้น และผื่นจะหายไปเองภายใน 3-5 วัน เชื้อ แพร่กระจายทางเดียวกับไข้หวัด
ส่าไข้ (Rosseolar infantum)
อาการร่วม
ผื่นแดงเล็กๆขึ้น หลังไข้ลด
ซึม เบื่ออาหาร ไม่มีน้ำมูก
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
มักพบในเด็ก อายุต่ากว่า 2 ปี
v/s พบไข้สูง ตลอดเวลา
พบผื่นแดงเล็กๆ หลังไข้ลด
ตรวจคอ จมูก พบปกติ
เคาะไซนัสไม่เจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อ Human herpes virus type 6
ภาวะแทรกซ้อน
ชักจากไข้สูง
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาเช่นเดียวกับไข้หวัด
หวัดจากภูมิแพ้ (Allergic rhinitis)
อาการนำ
ไข้หวัด(ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว)
อาการร่วม
คัดจมูก
จาม
คันจมูก คันตา น้ำตาไหล แสบตา
การซักประวัติและ ตรวจร่างกาย
v/s ไม่มีไข้
มีอาการเวลา สัมผัสสิ่งกระตุ้น เช่น อากาศเย็น สัมผัสฝุ่นละออง สารแพ้ต่างๆ
ตรวจจมูก พบ เยื่อบุจมูกบวม
เคาะไซนัสไม่เจ็บ
สาเหตุและพยาธิสภาพ
เกิดจากสาเหตุหลัก 3 ประการ ได้แก่ 1) พันธุกรรม 2) การสัมผัสสิ่งแพ้โดยตรง เช่น ฝุ่น ไรฝุ่น เกสรพืช ชิ้นส่วน ของแมลงสาป มด ยุง เป็นต้น และ 3) เหตุเสริมที่ทาให้ เกิดอาการหรือมีอาการมากขึ้น เช่นการติดเชื้อ กลิ่น ควัน ต่างๆ การออกกาลังกาย การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ของอุณหภูมิ เป็นต้น
การรักษาโรคเบื้องต้น
รักษาตามอาการ เช่น ให้ยา CPM, Cetirizine
61108031 นางสาววิภาดา วาเด็ง
Section1 เลขที่38